Page 30 - ดินเพื่อประชาชน
P. 30

ดินเพื่อประชาชน   27



            ดินที่ถูกใชประโยชนมาเปนเวลานาน ซึ่งจะทําใหดินมีความอุดมสมบูรณต่ําเนื่องจาก

            ดินเหนียวและอินทรียวัตถุถูกชะลางไปดวยมีผลทําใหความอุดมสมบูรณโดยทั่วๆ ไป
            ของดินต่ําจนถึงต่ํามาก นอกจากนี้ดินยังมีความสามารถในการอุมน้ําต่ําอีกดวย


                    2. ดินเปรี้ยวจัด ดินกรดจัด หรือดินกรดกํามะถัน (Acid sulfate soil) เปน
            ดินที่เกิดจากการตกตะกอนของน้ําทะเลหรือตะกอนน้ํากรอย  ที่มีสารประกอบของ
            กํามะถันซึ่งจะถูกเปลี่ยนเปนกรดกํามะถันตาม

            กระบวนการธรรมชาติสะสมในชั้นหนาตัดของ
            ดินโดยจะเปนดินที่มีความเปนกรดสูง  ความ

            อุดมสมบูรณต่ํา ขาดธาตุอาหารที่จําเปนตอการ
            เจริญเติบโตของพืชอยางรุนแรง  เชน ขาดธาตุ

            ฟอสฟอรัส  ไนโตรเจน นอกจากนี้ยังมีธาตุอาหารบางชนิดเกินความจําเปนซึ่งสงผล

            รายหรือเปนอันตรายตอการเจริญเติบโตของพืชเชน ธาตุเหล็ก อลูมิเนียม เปนตน
                    3. ดินอินทรีย หรือโดยทั่วไปเรียกวา “ดินพรุ”  ในประเทศมีดินที่เปน

            ดินอินทรียแพรกระจายอยูหนาแนนอยูตามแนวชายแดนหรือเขตชายแดนไทยและ

            มาเลเซียเปนสวนใหญนอกจากนั้นยังพบโดย
            ทั่ว  ๆ ไปในภาคใตและภาคตะวันออกของ
            ประเทศ     พื้นที่ที่เปนพื้นที่พรุหรือพื้นที่ดิน

            อินทรียนั้น ตามธรรมชาติจะเปนที่    ลุมน้ํา ที่มี

            น้ําขังอยูตลอดทั้งปซึ่งเกิดจากการทับถมของ
            พืชตาง  ๆ ที่เปอยผุพังเปน  ชั้นหนาตั้งแต 40  เซนติเมตร ไปจนถึงมีความหนา

            ประมาณ 10 เมตร มีการสลายตัวอยางชาๆทําใหกรดอินทรียถูกปลอยออกมาสะสม
            อยูตลอดเวลาอยางตอเนื่อง ดินชนิดนี้จะมีปริมาณดินเหนียวต่ํา และมีปริมาณธาตุ

            อาหารหลักและธาตุอาหารรองที่จําเปนตอพืชอยูนอย ดินชนิดนี้ที่พบในบริเวณที่
            ราบลุมตามชายทะเลจะมีดินเปรี้ยวจัดแฝงอยูในชั้นลางของดิน  ถามีการระบายน้ํา
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35