Page 29 - ดินเพื่อประชาชน
P. 29

ดินกรด ดินดาง ดินเกลือ



                    ....ดินกรด ดินดาง และดินเกลือ เปนดินที่มีปญหาในการเพาะปลูก

            เนื่องจากสมบัติทางเคมีของดินเหลานี้เปนอุปสรรคตอการเจริญเติบโต
            ตามปกติของพืช ดินกรดและดินดางทําใหพืชไมสามารถดูดซึมธาตุอาหารไป

            ใชไดตามปกติ  ดินเกลือจะทําใหเกิดความเปนพิษกับพืชในการยับยั้งการ

            เจริญเติบโต  และหากรุนแรงจะทําใหพืชตายได....

            ดินกรด
                    ดินที่มีปริมาณธาตุประจุบวกที่แลกเปลี่ยนได (exchangeable  cations)

            สวนใหญจะเปนไฮโดรเจนอิออนซึ่งเมื่อธาตุประจุบวกที่เปนกรดเหลานี้แตกตัว
            ออกมาจากดินที่ดูดซับไว ก็จะใหอนุมูลอิสระของไฮโดรเจนออกมาในสารละลาย ทํา

            ให pH ของดินที่วัดไดมีคาต่ํากวา 7 ดินที่เปนกรดจะมีธาตุอยู 2 กลุม ที่เปนตัวบังคับ
            คือ อะลูมิเนียม (Al) และไฮโดรเจน (H)


            ดินกรดและดินเปรี้ยวจัด

                    ดินกรดและดินเปรี้ยวจัด หมายถึง ดินที่มีคา
            pH  วัดไดต่ํากวา 7.0   ดินกรดเปนดินที่ปญหาทางการ

            เกษตรเนื่องจากสมบัติที่เปนกรดซึ่งมีผลตอกระบวนการ
            เจริญเติบโตของพืชแลวสงผลตอปริมาณผลิตผลทาง

            การเกษตร  พบวาดินกรดจะมีลักษณะของดินและกระบวนการเกิดดินสามารถแบง
            ประเภทของดินได 3 ประเภท ดังนี้

                    1.ดินกรด หรือดินกรดธรรมดา  เปนดินเกาแกอายุมากซึ่งพบไดโดยทั่วไป

            ดินกรดเกิดขึ้นบริเวณพื้นที่เขตรอนชื้นมีฝนตกชุก ดินที่ผานกระบวนการชะลางหรือ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34