Page 8 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 8

7



                         2.2.2  ความเหมาะสมของกลุมดินสําหรับการปลูกพืชในฤดูแลง  การจัดความเหมาะสมดังกลาวนี้

                  จะจําลองวาหลังเก็บเกี่ยวพืชหลักแลว ดินยังมีความชื้นพอที่จะปลูกพืชอายุสั้นบางชนิดได เปนการปลูกพืช
                  โดยไมใชน้ําจากแหลงอื่นๆ มาเสริม


                         2.2.3  ความเหมาะสมของกลุมดินโดยมีเงื่อนไขวา  ถาปลูกพืชที่สนใจในเขตชลประทานซึ่งปริมาณ

                  น้ําไมใชขอจํากัด  ทั้งสามสภาพการปลูก  มีแนวทางการจัดทําชั้นความเหมาะสมตามคูมือประเมินคุณภาพ

                  ดินสําหรับการปลูกพืชชนิดตางๆ ที่พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งตองใชสมบัติดินทั้งทางเคมี และ
                  ฟสิกสรวมทั้งสภาพแวดลอม เชน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย และอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในชวงปลูกพืชเชนกัน

                  ฤดูฝนที่ใชในการประเมินครั้งนี้ ไดจากการเปรียบเทียบระหวางปริมาณน้ําฝนที่ตกกับการระเหยน้ําจากถาด

                  วัดการระเหย  โดยฝนตกตองมีคามากกวา 0.75 เทาของการระเหยจึงถือวาเปนฤดูฝน  สําหรับปริมาณ

                  น้ําฝนในฤดูฝนไดจากคาเฉลี่ยของผลรวมน้ําฝนที่ตกในชวงเดือนนี้ที่เปนฤดูฝนที่มีความยาวเทากับชวงปลูก

                  พืชนั้นๆ สําหรับอุณหภูมิเฉลี่ยในชวงฤดูปลูกก็ทําเชนเดียวกันกับปริมาณน้ําฝน  ในสวนของการกําหนดวา
                  เปนฤดูแลง คือฤดูกาลที่นอกเหนือจากฤดูฝน  โดยทั่วไปทุกกลุมชุดดินที่กระจายตัวทุกภาค  ยกเวนภาคใต

                  ฤดูฝนจะอยูในชวงเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมสวนภาคใตจะแตกตางออกไป แมจะอยูในชวงมีนาคมถึง

                  ธันวาคม ทุกสภาพการจัดจําลองถึงการที่เกษตรกรจะลงทุนนอยที่สุดเกี่ยวกับปจจัยการผลิตเชนปุยและการ

                  จัดการวัชพืช  โรคและแมลง

                          2.3 การบันทึกขอมูลที่ไดจากการรวบรวมศึกษาในระบบคอมพิวเตอร

                         ขั้นตอนนี้เปนการบันทึกขอมูลตางๆ  เกี่ยวกับกลุมดินแตละกลุมที่ไดรวบรวมศึกษาในขอ 2.1 และ

                  2.2 ในระบบคอมพิวเตอร  ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกัน และเรียกออกมาใชไดอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ


                          2.4 การวินิจฉัยปญหาและขอจํากัดของกลุมดินชนิดตางๆ เพื่อการปลูกพืช

                         ในขั้นตอนนี้เปนการศึกษาวิเคราะห  และวินิจฉัยขอจํากัดในการใชประโยชนเพื่อการเกษตรของดิน

                  ชนิดตางๆ ในกลุม ขอจํากัดดังกลาวไดมีการรวบรวม วินิจฉัย ทั้งขอจํากัด และปญหา ที่เกี่ยวกับทรัพยากร
                  ดินจากขอมูล 2 ดาน คือ 1) จากปญหาซึ่งผูใชที่ดินประสบอยูในภาคสนาม  และ 2) จากผลการวิเคราะห

                  สมบัติของดินทั้งทางเคมี และกายภาพ แลวสรุปปญหาขอจํากัดเหลานั้นเปนหมวดหมูดังนี้


                      1)  ปญหา และขอจํากัดของดินทางดานเขตกรรมโดยตรง

                      2)  ปญหา และขอจํากัดที่เกี่ยวเนื่องกับสมบัติทางกายภาพของดิน
                      3)  ปญหา และขอจํากัดที่เกี่ยวเนื่องกับสมบัติทางเคมีของดิน

                      4)  ปญหา และขอจํากัดในดานวิธีการปรับปรุงบํารุงดิน  รวมทั้งการอนุรักษดินและน้ํา
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13