Page 5 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 5

4



                         8) การแพรกระจายของกลุมดินที่พบในภาคและจังหวัดตางๆ

                         2.1.2  ขอมูลที่เกี่ยวกับการจําแนกดิน ของแตละชุดดินในกลุมในระดับวงศ (family)  ตามระบบ

                  อนุกรมวิธานดิน


                         2.1.3 ขอมูลลักษณะของดิน  เปนการบรรยายลักษณะหนาตัดของแตละชุดดินในกลุม ไดแก

                  ลักษณะการจัดเรียงชั้นดิน ความตื้นลึกของดิน ปริมาณ และชนิดของกอนกรวดหินภายในชั้นดิน (ถามี) เนื้อ
                  ดิน โครงสรางดิน สีดิน จุดประ (ถามี) และปฎิกิริยาดิน ทั้งดินบนและดินลาง


                         2.1.4  ระดับความอุดมสมบูรณของดิน  ดําเนินการประเมินภาพรวมของระดับความอุดมสมบูรณ

                  ของแตละชุดดินในกลุม และของกลุมดิน  โดยใชคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินในประเทศไทย (Soil
                  Interpretation Handbook for Thailand 1973) หรือวิธีการของกองสํารวจ และจําแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน

                  สําหรับผลการวิเคราะหดินทางเคมีที่ใชในการประเมินมี 6 ประการ คือ 1พีเอช(pH)ของดิน  2) อินทรียวัตถุ

                  (organic matter) 3) ความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดิน (cation exchange capacity)

                  4) เปอรเซ็นตความอิ่มตัวดวยเบส (base  saturation)  5) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (available
                  phosphorus) และ  6) โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (exchangeable  potassium) โดยพิจารณาเฉพาะดิน

                  บนในระดับความลึก 0-30 เซ็นติเมตร ดังตารางที่ ก1 และ ก2 (ลําดับตารางและภาพในบทนําของรายงาน

                  ขึ้นตนดวยอักษร ก)  สําหรับหนวยความเขมขนที่เกี่ยวกับผลการวิเคราะหดินในตารางที่ ก2 และทุกตารางที่

                  ปรากฏในแตละกลุมชุดดิน ใชหนวยสากล (SI units) ดังนี้

                         1.ความเขมขนของธาตุอาหารในดิน ยกตัวอยาง เชน ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน 5 มิลลิกรัมตอ

                  กิโลกรัมหรือใชอักษรยอวา มก./กก. เดิมใชหนวยสวนตอลานสวน (ppm) โดย 1 มก./ กก. = 1 ppm

                         2.ความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (cation exchange capacity,CEC) ยกตัวอยาง เชน CEC

                  ของชุดดินชุมแสงมีคา 27 cmol / kg  ซึ่งเปนอักษรยอจากคําเต็มวา  centimoles of charge per kilogram
                                             c
                  เดิมใชหนวยmilliequivalents  per 100 grams (meq/100 g) โดย 1cmol / kg = 1meq/ 100 g
                                                                                c
                  ตารางที่  ก1  ปฏิกิริยาดิน และพีเอช (pH) ของดิน

                                ปฏิกิริยาดิน         pH          ปฏิกิริยาดิน                 pH

                                กรดจัดมาก           < 4.5        เปนกลาง                    6.6-7.3
                                กรดรุนแรงมาก        4.5-5.0      ดางเล็กนอย                7.4-7.8

                                กรดรุนแรง           5.1-5.5      ดางปานกลาง                 7.9-8.4
                                กรดปานกลาง          5.6-6.0      ดางรุนแรง                  8.5-9.0

                                กรดเล็กนอย         6.1-6.5      ดางรุนแรงมาก               > 9.0
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10