Page 585 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 585

571



                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 54.5

                  ตารางที่ 54.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                             CEC        BS         OM        Avai.P    Exch.K    ระดับความ
                       ชุดดิน      pH
                                           cmol /kg       (%)      (%)       (mg/kg)   (mg/kg)  อุดมสมบูรณ
                                               c
                   ลํานารายณ      7.91     40.88     110.35      3.10        32.50    255.45       สูง
                   ลําพญากลาง       -       30.33      87.50      1.50        14.80    150.00       สูง
                   สมอทอด           -       72.20      67.00      2.53        9.70     119.00     ปานกลาง

                   คามัธยฐาน       -       40.88      87.50      2.53        14.80    150.00       สูง


                  สรุป :  จากการประเมินความอุดมสมบูรณของดินชุดตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 54  พบวาความ

                         อุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลางถึงสูง

                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 54 มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร พืชผัก ไมผล หรือไมยืนตน และพัฒนาเปน

                  ทุงหญาเลี้ยงสัตว  แตในฤดูแลงไมสามารถปลูกพืชลมลุกได เนื่องจากดินมีความชื้นไมเพียงพอ และระบบ

                  ชลประทานยังเขาไมถึง สวนใหญใชเพาะปลูกเฉพาะในฤดูฝน เพื่อใหเกษตรกรมีทางเลือกในการใชที่ดิน จึง

                  จัดชั้นความเหมาะสมดังตารางที่ 54.6

                  ตารางที่ 54.6 ชั้นความเหมาะสมของกลุมชุดดินที่ 54 ที่ปลูกในฤดูกาลตางๆ กัน และปลูกในเขตชลประทาน


                         ชนิดพืช           ปลูกฤดูฝน         ปลูกฤดูแลง      ชลประทาน         หมายเหตุ
                   ขาว

                     ขาวนา                  S3ok             S3mok             S3ok
                     ขาวไร                 S3rk             S3mrk             S3rk

                   พืชไร
                     ขาวฟาง                S2k              S2k               S2k

                     ขาวโพด                 S2z              S3mk              S2k
                     งา                      S3rz             S3mrk             S3rk
   580   581   582   583   584   585   586   587   588   589   590