Page 582 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 582

568



                          1.2 วัตถุตนกําเนิดดิน : เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินอัคนี หินบะซอลต แอนดิไซต หินปูน และ

                  หินทรายเนื้อละเอียดที่เปนดาง(calcareous finegrained sandstone)

                          1.3 ภูมิสัณฐาน : พื้นที่ที่เหลือคางจากการกรอน และธารลาวา(lava flow)


                          1.4 สภาพพื้นที่และความลาดเท : เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน ความลาดเทอยู

                  ระหวาง 2-8 เปอรเซ็นต

                          1.5 สภาพการระบายน้ําของดิน : ดีปานกลางถึงดี


                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน : ปลูกพืชไร ไมผล และยังคงสภาพเปนปาเบญจพรรณ

                  สําหรับพื้นที่โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 54 แสดงไวในตารางที่ 54.2

                  ตารางที่ 54.2 พื้นที่โครงการชลประทาน และความจุของอางเก็บน้ําในจังหวัดที่พบกลุมชุดดินที่ 54

                                                        พื้นที่ชลประทาน   ความจุ    โครงการขนาด    โครงการ
                         ภาค         เขต    จังหวัด
                                                                              3
                                                             (ไร)      (ลาน ม. )   ใหญและกลาง   ขนาดเล็ก
                   กลาง               1     สระบุรี        315,250          5.5          9            5

                                            ลพบุรี         343,750         48.8         14           12
                                            สุพรรณบุรี    1,288,470       294.9          8            4
                   ตะวันออก           2     ชลบุรี          57,700        172.7         13            4

                   ตะวันออกเฉียงเหนือ 3     นครราชสีมา     651,744      1,166.2         43            5
                                            บุรีรัมย      148,652        274.9         18            4

                   เหนือ              6     ลําปาง         169,900        126.0          8            3
                                      8     เพชรบูรณ       62,620         58.2          8            5

                                            เลย             38,450         73.1         14            6
                                      9     นครสวรรค      474,800        101.2         18            8

                   ตะวันตก           10     กาญจนบุรี     1,245,400         8.0          9            4
                   ใต               12     ปตตานี         85,512           0           5            0

                                 รวมทั้งสิ้น              4,882,248     2,329.6         167          60


                          1.7 การชะลางพังทลายของหนาดิน : เล็กนอยถึงปานกลาง

                          1.8 ปริมาณเศษหินกรวดที่ผิวดิน : มีปริมาณเล็กนอยๆ กวา 1เปอรเซ็นต


                          1.9 การแพรกระจาย : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ซึ่ง
                  จังหวัดที่พบแสดงไวในตารางที่ 54.3
   577   578   579   580   581   582   583   584   585   586   587