Page 500 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 500

486



                                k  =  ดินไมเหมาะสมตอการทําเขตกรรมพิจารณาเฉพาะความลึกดิน

                                                   เนื้อดิน และโครงสรางดิน


                                x  =  ดินมีอิทธิพลของเกลือ


                                w  =  พื้นที่ไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล

                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง


                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                          5.1 ดินตื้นถึงตื้นมาก  มีกรวดลูกรังหรือเศษหินปนกับเนื้อดินมาก ทําใหรากพืชจะชอนไชไดยาก

                  ในชวงฤดูแลงดินจะแหงเร็ว

                          5.2  การชะลางพังทลายของดิน  เกิดขึ้นในระดับปานกลางถึงรุนแรง  โดยเฉพาะการเพาะปลูกใน

                  พื้นที่ซึ่งมีความลาดเทเกินกวา 5 เปอรเซ็นต โดยไมมีการอนุรักษดินและน้ําอยางเหมาะสม

                          5.3 ความอุดมสมบูรณของดินลดลงเร็ว  เมื่อดินถูกชะลางพังทลายและหนาดินสูญหายไป  ชั้น

                  กรวดลูกรังหรือเศษหินจะโผลขึ้นมาแทน บางพื้นที่ใชปลูกพืชไมไดเลย


                          5.4 ดินแหงจัดและขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  โดยเฉพาะในฤดูแลง ดินจะมีความชื้นต่ํามาก

                  จนไมสามารถใชเพาะปลูกพืชได ประกอบกับบริเวณที่พบกลุมชุดดินนี้ระบบชลประทานเขาไมถึง และแหลง
                  น้ําธรรมชาติมีนอย ปญหาการขาดแคลนน้ําจึงรุนแรง


                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 การจัดการปญหาดินตื้น  ในการปลูกพืชไรควรเลือกดินที่มีชั้นดินหนากวา 15 ซม. สําหรับพืชที่

                  มีรากตื้น เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วเขียว ถั่วลิสง และอื่นๆ สวนการปลูกไมผลหรือไมยืนตน ควรขุดหลุมปลูก

                  ใหมีขนาด 75x75x75 ซม. แลวผสมดินกับปุยอินทรีย เชน ปุยคอกหรือปุยหมัก อัตราประมาณ 20-30 กก.ตอหลุม

                          6.2 การปองกันการชะลางพังทลายของดิน  โดยผสมผสานวิธีกลและวิธีการทางพืช สําหรับ

                  วิธีการทางพืช ไดแก1) ปลูกพืชเปนแถบตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ 2) ปลูกแถบหญาแฝก

                  ขวางตามแนวระดับเพื่อชวยลดการไหลบาของน้ําและชวยดักตะกอน 3) ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับแถวพืช
                  หลัก 4) ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมหรือเหลื่อมฤดู  หรือ 5) ปลูกพืชคลุมดินในสวนผลไมหรือไมยืนตน สําหรับ

                  พื้นที่ซึ่งมีความลาดเทเกิน 5 เปอรเซ็นต ควรใชวิธีกล เชน ทําคันดิน คันเบนน้ํา ทางระบายน้ํา บอดักตะกอน

                  หรือบอน้ําในไรนา เพื่อลดการชะลางพังทลายของหนาดิน


                          6.3  การอนุรักษน้ําในดินและพัฒนาแหลงน้ํา   การอนุรักษน้ําในดินโดยใชวัสดุคลุมผิวดินใน
                  แปลงพืช หรือปลูกพืชคลุมดินระหวางแถวพืชยืนตน  นอกจากนี้ยังตองพัฒนาแหลงน้ําใหเพียงพอตอการ

                  เพาะปลูก เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มักขาดแคลนน้ํา และในฤดูแลงความชื้นในดินต่ํามาก
   495   496   497   498   499   500   501   502   503   504   505