Page 497 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 497

483



                         3.2.5 ชุดดินทายาง (Tha Yang series: Ty)

                         จัดอยูใน loamy skeletal, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults เกิดจากสลายตัว
                  ของหินทราย หินควอรตไซตที่ผุพังอยูกับที่หรือเคลื่อนที่มาทับถมโดยแรงดึงดูดของโลกบนพื้นผิวที่เหลือคาง

                  จากการกัดกรอน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบจนถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน

                  ประมาณ 2-12  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินตื้น มีการระบายน้ําดี มีความสามารถใหน้ําซึมผานปานกลาง มี

                  การไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว
                         ดินบนลึกไมเกิน 25 ซม. มีเนื้อดินเปนดินทราย ดินทรายปนดินรวน หรือดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสี

                  น้ําตาลเขมถึงสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดแกถึงเปนกลาง(pH 5.5-7.0)  สวนดินลางมีเนื้อดิน

                  เปนดินรวนปนทราย,  ดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปนทราย มีปริมาณกอนควอตไซตปะปนอยู

                  ประมาณ 10-35 เปอรเซ็นต และจะพบกอนควอรตไซตและหินทรายที่มีปริมาณมากกวา 35 เปอรเซ็นตโดย
                  ปริมาตรภายในความลึกไมเกิน 50  ซม.จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-

                  6.0)


                  3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได
                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 48.5

                  ตารางที่ 48.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                         CEC          BS          OM        Avai.P    Exch.K     ระดับความ
                      ชุดดิน    pH
                                       cmol /kg      (%)          (%)      (mg/kg)    (mg/kg)    อุดมสมบูรณ
                                           c
                   ทายาง      5.18      3.41        44.47       1.13        6.80      58.50         ต่ํา

                   นาเฉลียง      -       8.73        50.00       0.74        2.00      19.00         ต่ํา
                   น้ําชุน       -      22.40        68.80       1.72        1.53      38.00      ปานกลาง

                   พะเยา       4.45      7.03        21.10       1.28        1.30      40.00         ต่ํา
                   แมริม      4.74      4.15        36.00       1.03       36.15      69.50      ปานกลาง
                   คามัธยฐาน  4.74      7.03        44.47       1.13        2.00      40.00         ต่ํา


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของดินชุดตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 48 พบวาความอุดมสมบูรณ

                        อยูในระดับต่ําถึงปานกลาง
   492   493   494   495   496   497   498   499   500   501   502