Page 479 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 479

465



                                                   เนื้อดิน และโครงสรางดิน

                                x  =  ดินมีอิทธิพลของเกลือ


                                w  =  พื้นที่ไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล


                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                          5.1 ดินตื้น  กลุมชุดดินนี้เปนดินตื้นถึงตื้นมาก มีเศษหินและกรวดลูกรังปะปนอยูในชั้นดินมาก และ

                  พบหินพื้นหรือหินที่เปนวัตถุตนกําเนิดดินในความลึก 50 ซม. จากผิวดินบนเปนสวนใหญ เวลาฝนทิ้งชวงดิน

                  จะแหงเร็ว

                          5.2 การชะลางพังทลายของดิน  เกิดขึ้นในระดับปานกลางถึงรุนแรง โดยเฉพาะบริเวณที่ใชในการ

                  เพาะปลูกซึ่งเปนดินตื้นมาก และมีความลาดเทเกินกวา 5 เปอรเซ็นต


                          5.3 ความอุดมสมบูรณของดินลดลงรวดเร็ว   เนื่องจากมีการชะลางพังทลายของหนาดินอยาง
                  ตอเนื่อง


                          5.4 ดินแหงจัดและขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก   แหลงน้ําธรรมชาติมีจํากัดและไมมีระบบ

                  ชลประทานเขาถึง จึงไมสามารถเพาะปลูกพืชในฤดูแลง

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช


                          6.1 การเลือกพื้นที่สําหรับปลูกพืช  กลุมชุดดินนี้ประกอบดวยดินตั้งแตตื้นมากถึงลึกปานกลาง จึง
                  ควรเลือกใชประโยชนดังนี้ 1) ปลูกพืชไรทั่วไปในชุดดินที่มีความลึกปานกลาง เชน ชุดดินลี้ ทาลี่ โปงน้ํารอน

                  และนครสวรรค 2) ปลูกเฉพาะพืชไรรากตื้น ในดินตื้นที่มีหนาดินหนากวา 15  ซม. เชน ดินชุดมวกเหล็ก

                  สบปราบ และไพสาลี และ 3) ดินตื้นมากและมีความลาดเทสูง ควรสงวนไวเปนปาธรรมชาติ เชน ชุดดินงาว

                  หินซอนและโคกปรือ

                          6.2 การเตรียมหลุมปลูก  ในการปลูกไมผลหรือไมยืนตนบางชนิดบนดินชุดทาลี่ ลี้ นครสวรรค และ

                  โปงน้ํารอน เชน ยางพารา มะมวง ขนุน ฯลฯ ควรเตรียมหลุมปลูกขนาดไมนอยกวา 75x75x75 ซม.และผสม

                  ปุยอินทรีย ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา 20-30 กก./หลุม

                          6.3 การอนุรักษดินและน้ํา  ในการปลูกพืชไรและไมผล  ควรผสมผสานการอนุรักษดินและน้ําดวย

                  วิธีการทางพืชและวิธีกลดังนี้

                         6.3.1 วิธีการทางพืช ควรใชวิธีการอยางใดอยางหนึ่งดังนี้ 1) ปลูกแถบไมพุมตระกูลถั่วยืนตนตาม

                  แนวระดับขวางลาดเท เชน การปลูกแถบของถั่วมะแฮะผสมกับกระถินยักษ 2) ปลูกแถบหญาแฝกตามแนว
                  ระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ 3)  ปลูกแถบไมพุมตระกูลถั่วยืนตนตามแนวระดับ สลับกับการปลูกแถบ
   474   475   476   477   478   479   480   481   482   483   484