Page 459 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 459

445



                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1  การจัดการปญหาดินตื้น  ในกรณีที่ใชปลูกพืชไร  ควรเลือกพื้นที่ซึ่งมีดินบนหนากวา 15  ซม.

                  และเลือกพืชไรที่มีรากตื้น เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วเขียว ถั่วลิสง และอื่นๆ สวนการปลูกไมผลหรือไมยืนตน

                  ควรขุดหลุมใหมีขนาด 75x75x75  ซม. แลวคลุกเคลาดินกับปุยอินทรีย เชน ปุยคอกหรือปุยหมักประมาณ

                  หลุมละ 20-30 กก. ใสกลับลงไปในหลุมแลวจึงปลูกไมผลหรือไมยืนตน

                          6.2 ปองกันการชะลางพังทลายของดิน  ดวยการอนุรักษดินและน้ําดวยการผสมผสานวิธีการทาง

                  พืช  และวิธีกล สําหรับวิธีการทางพืช ไดแก 1) การปลูกพืชเปนแถบตามแนวระดับขวางความลาดเทของ

                  พื้นที่ 2) การปลูกแถบหญาแฝกตามแนวระดับขวางความลาดเท เพื่อชะลอการไหลบาของน้ําและชวยดัก
                  ตะกอน 3)  การปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับแถวพืชหลัก 4) การปลูกพืชตระกูลถั่วแซมหรือเหลื่อมฤดู  และ

                  5) การปลูกพืชคลุมดินในสวนผลไมหรือไมยืนตน  สวนวิธีกลนั้นอาจจําเปนตองใชในพื้นที่ซึ่งมีความลาดเท

                  เกิน 5 เปอรเซ็นต ไดแก การทําคันดิน คันเบนน้ํา ทางระบายน้ํา บอดักตะกอนหรือบอน้ําในไรนาเพื่อลดการ

                  ชะลางพังทลายของหนาดิน

                          6.3 ลดการสูญเสียความชื้นจากดิน  โดยใชวัสดุคลุมดินระหวางแถวพืชลมลุก หรือปลูกพืชคลุม

                  ดินระหวางแถวพืชยืนตน นอกจากนี้ยังควรพัฒนาแหลงน้ําใหเพียงพอ เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มักขาดแคลน

                  น้ําในฤดูแลงและระยะฝนทิ้งชวง

                          6.4 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  ซึ่งทําไดหลายวิธีดังนี้

                         6.4.1  การปลูกพืชบํารุงดิน ไดแก 1) ปลูกพืชตระกูลถั่วตางๆ สลับการปลูกพืชหลัก 2) ปลูกพืชปุย

                  สดแลวไถกลบเมื่อพืชออกดอก และ 3) ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวางแถวพืชหลัก

                         6.4.2  การใสปุยอินทรีย ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมักอัตรา 1-2 ตัน/ไร เพื่อเพิ่มธาตุอาหาร ปรับปรุง
                  สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน

                         6.4.3 การใชปุยเคมี เนื่องจากในบางพื้นที่หนาดินถูกชะลางพังทลายออกไปมาก เปนเหตุใหความ

                  อุดมสมบูรณของดินต่ํา จําเปนตองใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี สําหรับสูตร อัตรา  และวิธีการใชปุยเคมี

                  ขึ้นอยูกับชนิดของพืช ซึ่งกลาวไวในหัวขอที่ 9

                  7. ขอเสนอแนะ


                         กลุมชุดดินที่ 46  มีศักยภาพไมคอยเหมาะสมถึงไมเหมาะสมในการปลูกพืชไร ไมผลหรือไมยืนตน
                  เนื่องจากเปนดินตื้นถึงตื้นมาก และไมเหมาะสมในการทํานา เนื่องจากสภาพเปนที่ดอน ดินเก็บกักน้ําไมได

                  แตมีศักยภาพเหมาะพอที่จะพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว หากตองการปลูกพืชไรควรเลือกพื้นที่ซึ่งมีหนาดิน

                  หนากวา 15 ซม. แตถาจะใชปลูกไมผลหรือไมยืนตนควรขุดหลุมปลูกใหใหญขึ้น และใชปุยอินทรียผสมกับ

                  ดินในหลุมปลูกประมาณ 20-25 กก./หลุม อยางไรก็ตามการใชประโยชนกลุมชุดดินนี้ ควรเนนระบบเกษตร
                  แบบผสมผสาน  เชน ปลูกหญาเลี้ยงสัตว-พืชไร-ไมยืนตน  โดยทุกกิจกรรมเอื้อประโยชนตอกัน  การเลือก
   454   455   456   457   458   459   460   461   462   463   464