Page 455 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 455

441



                  ลาดลอนลึก มีความลาดชัน 8-30 เปอรเซ็นต  ชุดดินนี้เปนดินลึก มีการระบายน้ําดี ดินสามารถใหน้ําซึม

                  ผานไดปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว
                         ดินบนลึกไมเกิน 23 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง หรือดินรวนเหนียว หรือดิน

                  เหนียว สีน้ําตาลเขมมากปนเทา หรือน้ําตาลเขมปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH

                  6.0-6.5)  สวนดินชั้นลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวปนกรวดลูกรัง สีแดงปนเหลือง หรือสีแดง กรวดลูกรังมี

                  รูปรางเปนเหลี่ยมซึ่งประกอบไปดวยควอรตซเปนสวนใหญ ปฏิกิริยาดินเปนจัดมากถึงกรดรุนแรงมาก(pH

                  4.5-5.0)

                         3.2.4 ชุดดินสุรินทร (Surin series: Su)

                         จัดอยูใน clayey skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Ratchasima เกิดจากการสลายตัว
                  ของวัตถุตกคางและหินดินดาดเชิงเขาของหินบะซอลต สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะลูกคลื่นลอนลาด มีความ

                  ลาดชัน 3-8  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผาน

                  ปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูลึกมาก

                          ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนหรือดินรวนเหนียวปนกรวด สีพื้นเปนสีน้ําตาลเขม

                  หรือสีเขมของน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-7.0) สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวน
                  ปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนเศษหินและเศษหินจะเพิ่มปริมาณจนถึงชั้นของหินผุพังสลายตัวบะซอลต

                  ในระดับความลึก สีพื้นเปนสีน้ําตาลปนแดง หรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดจัด

                  (pH 5.5-6.5)

                  3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973
                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 46.5
   450   451   452   453   454   455   456   457   458   459   460