Page 342 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 342

328



                  เก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน สามารถเพิ่มผลผลิตดวยการใชปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1 กก./ตน และ 6) หลังเก็บ

                  เกี่ยวผลผลิตใหปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 1.5 และ1 กก./ตนตามลําดับ

                         9.3.3 สมเขียวหวาน  1) อายุ 1 ปใชปุยสูตร 20-10-10 หรือปุยสูตร 25-7-7 หรือปุยสูตร 15-15-15

                  + 46-0-0 (สัดสวน 1:1) อัตรา 0.5-1.0 กก./ตน โดยแบงใส 4-6 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 10-20 กก./ตน

                  เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน 2) ปที่ 2-4 ใชปุยสูตรเดียวกันกับสมปที่ 1 แตเพิ่มอัตราเปน 1-2 กก./ตน โดยใส

                  3-4 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน และ 3) อายุ 4 ปขึ้นไป ซึ่งสมจะ
                  เริ่มใหผลผลิต ควรแบงการใสปุยเปน 3 ชวง คือ ชวงกอนออกดอก ใสปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน

                  และพนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ ในระยะติดผล พนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ

                  เชนเดียวกัน สําหรับชวงใกลเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-2 กก./ตน สวนหลังการเก็บเกี่ยว

                  ผลผลิตแลว ควรใชปุยสูตรเดียวกันกับที่ใชในสมอายุ 1 ป แตใสอัตรา 1-3 กก./ตน พนปุยธาตุรองและธาตุ

                  อาหารเสริมทางใบ และใสปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน

                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 38  ประกอบดวยชุดดินเชียงใหม ทามวง ชุมพลบุรี ไทรงาม และดินชุดดอนเจดีย  ซึ่ง

                  สวนใหญเกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําใหมถึงคอนขางใหม ที่น้ําพัดพามาทับถม และพบตามสันริม

                  ฝงแมน้ํา สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ

                         ลักษณะเนื้อดินละเอียดปานกลางถึงคอนขางหยาบ  สวนใหญเนื้อดินไมคอยแนนอน ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดจัดถึงเปนกลาง  คาพีเอช 5.0-7.0  สภาพการระบายน้ําคอนขางดีถึงดี  ความอุดมสมบูรณต่ําถึงสูง

                  การใชประโยชนในปจจุบัน ไดแก การปลูกพืชไร พืชผัก ไมผล และใชในการปลูกสรางที่อยูอาศัย

                         ปญหาหลักในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก น้ําทวมบางพื้นที่ในบางป ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                  ถึงสูง จึงจําเปนตองใชปุย เนื้อดินคอนขางเปนทรายทําใหความสามารถในการอุมน้ําของดินต่ํา และดูดซับ

                  ธาตุอาหารพวกแคตไอออนไดนอย


                         การจัดการดินควรเนนการปองกันน้ําทวมโดยการทําพนังกั้นน้ํา และจัดระบบระบายน้ําออกจาก
                  พื้นที่เพาะปลูก ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพดวยปุยอินทรีย และเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยการเสริม

                  ดวยปุยเคมี ตลอดจนใชวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุมดินเพื่ออนุรักษดินและรักษาความชื้นในดิน

                         การใชประโยชนพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด คือ ดําเนินการปลูกพืชแบบผสมผสานระหวางพืชไร

                  พืชผักและไมผล รวมทั้งการเลี้ยงสัตว โดยเลือกกิจกรรมที่เอื้อประโยชนซึ่งกันและกันมาผสมผสานกัน

                  นอกจากนี้การตัดสินใจยังตองพิจารณาปจจัยตอไปนี้ คือ สภาพพื้นที่  แหลงน้ํา ทักษะของเกษตรกร และ

                  ความตองการผลผลิตของตลาดภายในและภายนอกทองถิ่น
   337   338   339   340   341   342   343   344   345   346   347