Page 293 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 293

279



                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 35  กระจายอยูมากในพื้นที่ดอนเกือบทุกภาคของประเทศยกเวนภาคใต ภาคที่พบ

                  มากที่สุด ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  รองลงมา ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง

                  ตามลําดับ

                         ดินสวนใหญมีการระบายน้ําดีหรือดีปานกลาง เนื้อดินคอนขางเปนทรายจึงเปนดินเนื้อละเอียดปาน

                  กลาง เปนดินลึก โดยทั่วไปกลุมชุดดินนี้จัดวาเหมาะสมสําหรับปลูกพืชไร พืชลมลุก ไมผล ไมยืนตน หรือใช

                  ทําทุงหญาเลี้ยงสัตว แตไมเหมาะในการทํานาเนื่องจากสภาพพื้นที่ไมเหมาะสม อยางไรก็ตามยังมีขอจํากัด

                  ในการปลูกพืชหลายอยางเชนความอุดมสมบูรณต่ํา ความสามารถในการอุมน้ําต่ํา และเสี่ยงตอการชะลาง
                  พังทลาย โดยเฉพาะบริเวณที่มีความลาดชันสูง


                         แนวทางในการจัดการดินเพื่อปลูกพืชตางๆ ที่สําคัญ คือ การเพิ่ม  ความอุดมสมบูรณของดินโดย

                  การใชปุยพืชสด ปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยเคมีตามความจําเปน นอกจากนี้ยังตองมีการอนุรักษดินและ

                  น้ําเพื่อปองกันการชะลางพังทลายอยางเหมาะสมดวย

                         การใชประโยชนกลุมชุดดินนี้ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ควรเนนการเกษตรแบบผสมผสาน โดยปลูก

                  พืชไร (ขาวไร มันสําปะหลัง ขาวโพด ออย ถั่วลิสง ถั่วเหลือง และปอแกว) ไมผล (มะมวง มะมวงหิมพานต
                  และขนุน) หรือไมยืนตน ผักหรือ ไมดอก และพัฒนาพื้นที่บางสวนสําหรับปลูกหญาเลี้ยงสัตว การใช

                  ประโยชนที่ดินแบบผสมผสาน โดยกิจกรรมตางๆ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน จะชวยลดตนทุนการผลิตและลด

                  ความเสี่ยงดานราคาผลผลิตไดมาก
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298