Page 227 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 227

213



                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 1.5

                  ตารางที่ 32.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                            CEC         BS          O.M        Avai.P   Exch.K   ระดับความ
                      ชุดดิน      pH
                                          cmol /kg       (%)       (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                              c
                   ตาขุน           -        61.04      28.10       0.71      14.38      77.50     ปานกลาง
                   รือเสาะ         -        28.40      13.50       1.13      2.75       65.50        ต่ํา
                   ลําแกน         -        92.60       6.07       2.72      7.67       58.90        ต่ํา

                   คามัธยฐาน      -        61.04      13.50       1.13      7.67       65.50        ต่ํา


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของในกลุมชุดดินที่ 32 พบวา ชุดดินรือเสาะ และลําแกนมีความ

                        อุดมสมบูรณอยูในระดับต่ํา สวนชุดดินตาขุนมีความอุดมสมบูรณในระดับปานกลาง

                  4. การประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 32 มีศักยภาพเหมาะสมในการทําสวนไมผล กาแฟ พืชผักและยางพารา เนื่องจากพบ

                  ในสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด เนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงรวนปนดินเหนียว การระบาย

                  น้ําดี ถามีน้ําชลประทานหรือแหลงน้ําธรรมชาติ สามารถปลูกพืชไรและพืชผักในฤดูแลงได เพื่อใหเกษตรกร

                  มีทางเลือกในการใชที่ดิน จึงจัดชั้นความเหมาะสมออกเปน 3 อยาง คือ ชั้นความเหมาะสมสําหรับการปลูก
                  พืชในฤดูฝน  ฤดูแลงและเมื่อมีการพัฒนาที่ดิน หรือมีการแกไขขอจํากัดบางอยางแลว  อาจสรุปชั้นความ

                  เหมาะสมของดินดังตารางที่ 32.6


                  ตารางที่ 32.6 ชั้นความเหมาะสมของกลุมชุดดินที่ 32 ที่ปลูกในฤดูกาลตางๆ กัน และปลูกในเขตชลประทาน

                        ชนิดพืช          ปลูกฤดูฝน         ปลูกฤดูแลง        ชลประทาน         หมายเหตุ

                   ขาว
                     ขาวนา                S2o               S2o                S2o

                     ขาวไร               S1                S1                 S1
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232