Page 221 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 221

207



                  เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน 2) ปที่ 2-4 ใชปุยสูตรเดียวกันกับสมปที่ 1 แตเพิ่มอัตราเปน 1-2 กก./ตน โดยใส

                  3-4 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน และ 3) อายุ 4 ปขึ้นไป ซึ่งสมจะ
                  เริ่มใหผลผลิต ควรแบงการใสปุยเปน 3 ชวง คือ ชวงกอนออกดอก ใสปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน

                  และพนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ ในระยะติดผล พนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ

                  เชนเดียวกัน สําหรับชวงใกลเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-2 กก./ตน สวนหลังการเก็บเกี่ยว

                  ผลผลิตแลว ควรใชปุยสูตรเดียวกันกับที่ใชในสมอายุ 1 ป แตใสอัตรา 1-3 กก./ตน พนปุยธาตุรองและธาตุ

                  อาหารเสริมทางใบ และใสปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน

                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 31  ประกอบดวยชุดดินเลย และชุดดินวังไฮ พบบริเวณที่ดอน  มีสภาพเปนลูกคลื่น

                  ลอนลาดถึงเนินเขา ความลาดเท 2-20 เปอรเซ็นต


                         ลักษณะเนื้อดินเปนดินเหนียว  สีน้ําตาล สีเหลืองและสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรด

                  ปานกลาง คาพีเอช 6.0-6.5 ความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง ดินมีการระบายน้ําดี ปจจุบันใชปลูก
                  พืชไร ไมผล ไมยืนตน และผักตางๆ แมดินกลุมนี้มีศักยภาพเหมาะสมกับการปลูกพืชดังกลาวก็ตาม แตการ

                  ใชประโยชนจะมีประสิทธิภาพสูง ควรจัดระบบการเกษตรแบบผสมผสาน  สําหรับปญหาการใชประโยชน

                  ที่ดิน  ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดิน  ขาดแคลนน้ําสําหรับการเพาะปลูกในฤดูแลง และดินมีความ

                  อุดมสมบูรณปานกลาง เนื่องจากขาดธาตุอาหารพืชบางธาตุ

                         สําหรับพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 5 เปอรเซ็นต ขึ้นไปควรดําเนินการอนุรักษดินและน้ํา ดวยวิธีกล

                  รวมกับวิธีทางพืช นอกจากนี้ยังตองปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน ดวยการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี

                  ตามความจําเปน

                         นอกจากการจัดการดินตามแนวทางดังกลาวแลว  การพัฒนาแหลงน้ําภายในพื้นที่ และรักษา

                  ความชื้นในดินดวยการใชวัสดุคลุมดินก็มีความจําเปนมาก  เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 31  ในปจจุบันระบบ

                  ชลประทานยังเขาไปไมถึง  จึงปลูกพืชไดเฉพาะในฤดูฝน  สวนการปลูกพืชในฤดูแลงสามารถดําเนินการได

                  เฉพาะเกษตรกรที่พัฒนาแหลงน้ําอยางเพียงพอ
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226