Page 213 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 213

199



                         3.2.2 ชุดดินวังไฮ (Wang Hai series: Wi)

                         จัดอยูใน fine, mixed, active, isohyperthermic Oxyaquic (Ultic) Paleustalfs  เกิดจากการ
                  สลายตัวของหินดินดานและหินฟลไลต ที่มีสวนสัมพันธกับหินปูน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่น

                  ลอนลาด มีความลาดชัน 2-5  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึก มีการระบายน้ําดีปานกลาง คาดวาดินมี

                  ความสามารถใหน้ําซึมผานปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง ตามปกติแลวระดับน้ําใตดิน

                  ลึกมากกวา 3 เมตร
                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนดินเหนียว สีพื้นเปนสีเขมของน้ําตาลปนแดง

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดจัด(pH 5.5-6.5)  ดินบนตอนลางเนื้อดินเปนดินเหนียว สีพื้นเปนสีแดง

                  ปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง(pH 6.0) สวนดินตอนลางเนื้อดินเปนดินเหนียวสีแดง มีจุดประสี

                  น้ําตาลปนเหลือง หรือสีน้ําตาลซีด ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973
                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 31.5


                  ตารางที่ 31.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                            CEC         BS          OM        Avai.P   Exch.K    ระดับความ
                      ชุดดิน     pH
                                          cmol /kg       (%)       (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                              c
                   เลย           6.30       11.60      64.45       2.25      12.50     181.00     ปานกลาง
                   วังไฮ          .-        15.00      36.00       3.47      5.50      122.50     ปานกลาง

                   คามัธยฐาน    6.30       13.30      50.23       2.86      9.00      151.75     ปานกลาง


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของชุดดินตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 31 พบวามีความอุดม
                        สมบูรณอยูในระดับปานกลาง


                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 31 มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไรและไมผลหลายชนิด แตไมเหมาะสมในการ

                  ทํานา เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา จึงเก็บกักน้ําไวปลูกขาวไมได อยางไรก็ตาม
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218