Page 187 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 187

173



                          5.2  ความอุดมสมบูรณของดินต่ําถึงระดับปานกลาง  เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 29  มีความอุดม

                  สมบูรณต่ําถึงระดับปานกลาง ประกอบกับมีการใชประโยชนในการเพาะปลูกมาเปนเวลานาน ธาตุอาหาร
                  พืชบางสวนไดสูญเสียโดยติดไปกับผลผลิต ตลอดจนการชะลางพังทลายของดิน จึงมีปญหาดานความอุดม

                  สมบูรณของดินที่ตองปรับปรุงแกไข


                          5.3 การขาดแคลนน้ํา  เนื่องจากระดับน้ําใตดินอยูลึกมาก ประกอบกับบางชุดดินมีการซึมน้ําเร็ว

                  และเก็บกักน้ําไดนอย ดังนั้นในเวลาที่ฝนทิ้งชวงดินมักจะแหงและมีความชื้นไมเพียงพอตอความตองการ
                  ของพืช เปนเหตุใหพืชชะงักการเจริญเติบโต


                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1  การอนุรักษดินและน้ํา  ควรใชมาตรการปองกันการชะลางพังทลายของดิน ทั้งวิธีกลและวิธี

                  ทางพืช สําหรับวิธีกล ไดแก การทําคันดิน ขั้นบันไดดิน คันเบนน้ํา ทางระบายน้ํา  บอดักตะกอน ตลอดจน

                  บอน้ําประจําไรนา  เพื่อเก็บกักน้ําสวนเกินไวใชประโยชนในฤดูแลง  สวนวิธีทางพืช ไดแก การปลูกพืชเปน

                  แถบตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่  การปลูกหญาแฝกตามแนวระดับ การปลูกพืชตระกูลถั่ว
                  สลับกับแถวพืชหลักตามแนวระดับ การปลูกพืชตระกูลถั่วแซมหรือเหลื่อมฤดู การปลูกพืชคลุมดินในสวนไม

                  ผลหรือไมยืนตน รวมทั้งการปลูกพืชหมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วสอดแทรกอยูกับการปลูกพืชหลัก ระบบการ

                  ปลูกพืชดังกลาวมีประโยชน 2 ดาน คือ 1) เปนการอนุรักษดินและน้ําที่มีประสิทธิภาพ และ 2) เมื่อเก็บเกี่ยว

                  ผลผลิตพืชตระกูลถั่วแลวสามารถไถกลบเศษซากพืชที่เหลือลงดิน เพื่อเพิ่มธาตุอาหารและอินทรียวัตถุใน
                  ดินดวย


                          6.2 การพัฒนาแหลงน้ํา  เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 29 อยูในที่ดอนและไมมีระบบชลประทาน จึงตอง

                  พัฒนาแหลงน้ําหรือจัดระบบเก็บกักน้ําในไรนา  โดยขุดบอน้ําประจําไรนาหรือขุดลอกแหลงน้ําเกาที่ตื้นเขิน
                  นอกจากนี้ยังตองลดการสูญเสียความชื้นในดิน โดยการใชวัสดุคลุมดินระหวางแถวพืช หรือการปลูกพืช

                  คลุมดิน ในฤดูแลง


                          6.3 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  ซึ่งทําไดหลายวิธีดังนี้

                         6.3.1 ปลูกพืชบํารุงดิน ไดแก พืชตระกูลถั่วตางๆ สลับกับพืชหลัก การปลูกพืชปุยสดแลวไถกลบลง

                  ไปในดิน ตลอดจนการปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวางแถวพืชหลัก

                         6.3.2 ใสปุยคอกและปุยหมัก เพื่อเพิ่มธาตุอาหารพืช ชวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน เชน

                  ความรวนซุยและความสามารถในการอุมน้ํา นอกจากนี้ยังชวยปรับปรุงสมบัติของดินทางเคมี เชน เพิ่ม

                  ความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดินดวย
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192