Page 184 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 184

170



                  ความลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป

                  1973 (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งผลของ
                  การประเมินสรุปไดดังตารางที่ 29.5


                  ตารางที่ 29.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                            CEC         BS          OM        Avai.P   Exch.K    ระดับความ
                      ชุดดิน      pH
                                          cmol /kg       (%)       (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                              c
                   เขาใหญ         -        7.67       38.47       1.17      2.48      121.00        ต่ํา

                   เชียงของ        -        22.20      31.00       4.00      12.55     149.00     ปานกลาง
                   โชคชัย        5.30       9.95       24.00       2.30      11.00     149.00     ปานกลาง

                   บานจอง      4.98       10.62      12.79       1.82      21.00      68.25     ปานกลาง
                   ปากชอง       5.80       15.00      48.71       2.22      6.00       79.45     ปานกลาง
                   แมแตง        5.30       5.99       29.81       1.02      7.09      111.00        ต่ํา

                   สูงเนิน       5.58       11.86      37.69       1.52      1.60      118.50     ปานกลาง
                   หนองมด        5.05       2.50       29.40       0.55      2.48       39.00        ต่ํา

                   หางฉัตร      4.88       4.60       49.27       1.20      6.95       64.00        ต่ํา
                   คามัธยฐาน    5.30       9.95       31.00       1.52      6.95      111.00        ต่ํา


                  สรุป :  จากการประเมินความอุดมสมบูรณของดินชุดตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 29  พบวาความอุดม

                        สมบูรณระดับต่ําถึงปานกลาง

                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 29 มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไรและไมผลมากกวาการปลูกขาว เนื่องจาก

                  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน  จึงเก็บกักน้ําไวปลูกขาวไมได  อยางไรก็ตามเพื่อใหเกษตรกรมี
                  ทางเลือกในการใชที่ดินใหเหมาะสมกับศักยภาพของดิน จึงจัดชั้นความเหมาะสมของดินตามความลาดเท

                  ของพื้นที่ ดังตารางที่ 29.6

                  ตารางที่ 29.6 ชั้นความเหมาะสมของกลุมชุดดินที่ 29 ที่ปลูกในฤดูกาลตางๆ กัน และปลูกในเขตชลประทาน


                        ชนิดพืช          ปลูกฤดูฝน           ปลูกฤดูแลง      ชลประทาน        หมายเหตุ

                   ขาว
                     ขาวนา                S3ok              S3mok             S3ok

                     ขาวไร               S3rk              S3mrk             S3rk
                   พืชไร

                     ขาวฟาง              S2zk              S3zk              S3zk
                     ขาวโพด               S2k               S3mk              S2k
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189