Page 172 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 172

158



                  46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน รวมกับใชปุยสูตร 0-52-34 อัตรา 0.20 กก./ตน/น้ํา 20 ลิตร ในชวง

                  เดือนพฤศจิกายนโดยพนปุยทุกๆ 7 วัน ประมาณ 3 ครั้งเพื่อไมใหลําไยแตกใบใหม 3) ลําไยอายุ 5 ปขึ้นไป
                  เปนชวงที่ลําไยใหผลผลิตแลว ทําการกระตุนการแตกใบออนชุดที่ 1และ2 (ประมาณเดือนกันยายน) ควรใช

                  ปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน จากนั้นชวงกลางเดือนตุลาคมเปนชวง

                  ที่ใหลําไยพักตัวเพื่อพรอมตอการออกดอกควรใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2 กก./ตน 4) ระยะลําไยติดผลควร

                  บํารุงผลใหเจริญเติบโตดวยปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน 5) กอน

                  เก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน สามารถเพิ่มผลผลิตดวยการใชปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1 กก./ตน และ 6) หลังเก็บ
                  เกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน ซ้ําอีกครั้ง


                         9.3.3 สมเขียวหวาน  1) อายุ 1 ปใชปุยสูตร 20-10-10 หรือปุยสูตร 25-7-7 หรือปุยสูตร 15-15-15

                  +46-0-0 (สัดสวน 1:1) อัตรา 0.5-1.0 กก./ตน โดยแบงใส 4-6 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 10-20 กก./ตน

                  เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน 2) ปที่ 2-4 ใชปุยสูตรเดียวกันกับสมปที่ 1 แตเพิ่มอัตราเปน 1-2 กก./ตน โดยใส
                  3-4 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน และ 3) อายุ 4 ปขึ้นไป ซึ่งสมจะ

                  เริ่มใหผลผลิต ควรแบงการใสปุยเปน 3 ชวง คือ ชวงกอนออกดอก ใสปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน

                  และพนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ ในระยะติดผล พนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ

                  เชนเดียวกัน สําหรับชวงใกลเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-2 กก./ตน สวนหลังการเก็บเกี่ยว
                  ผลผลิตแลว ควรใชปุยสูตรเดียวกันกับที่ใชในสมอายุ 1 ป แตใสอัตรา 1-3 กก./ตน พนปุยธาตุรองและธาตุ

                  อาหารเสริมทางใบ และใสปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน


                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 28  ประกอบดวยชุดดินชัยบาดาล ดงลาน ลพบุรี น้ําเลน และชุดดินบุรีรัมยบางสวน

                  ของกลุมชุดดินนี้พบในสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                         มีความลาดเทระหวาง 2-8 เปอรเซ็นต สภาพการระบายน้ําดีปานกลางถึงดี ลักษณะเนื้อดินเปนดิน

                  เหนียวตลอดหนาตัดดิน สีดินเปนสีดํา หรือสีเทาเขมมาก หรือสีน้ําตาล ในฤดูแลงดินจะแตกระแหงเปนรอง

                  กวางและลึก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง คาพีเอชอยูระหวาง 7.0-8.0  ความอุดมสมบูรณตาม

                  ธรรมชาติอยูในระดับปานกลางถึงสูง

                         ดินมีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร       ไมผลและพืชผัก แตการใชประโยชนนั้นควรเนน

                  การเกษตรแบบผสมผสาน  เชน ปลูกพืชไร-ไมผล-หญาเลี้ยงสัตว หรือ  พืชไร-พืชผัก-ไมผล หรือไมยืนตน-

                  หญาเลี้ยงสัตว เปนตน ปญหาการใชประโยชนที่ดิน ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดิน ขาดแคลนน้ําใน
                  การเพาะปลูกในฤดูแลงและดินขาดธาตุอาหารพืชบางธาตุ การจัดการดินทั่วไปที่ควรดําเนินการ ไดแก การ

                  อนุรักษดินและน้ํา โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 5 เปอรเซ็นต ขึ้นไป โดยการไถพรวนตาม
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177