Page 167 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 167

153



                                k  =  ดินไมเหมาะสมตอการทําเขตกรรมพิจารณาเฉพาะความลึกดิน

                                                   เนื้อดิน และโครงสรางดิน


                                x  =  ดินมีอิทธิพลของเกลือ


                                w  =  พื้นที่ไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล

                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช


                          5.1 ในพื้นที่ปลูกพืชไรบางแหง ซึ่งไมมีการอนุรักษดินและน้ํา จะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน

                  ในระดับปานกลาง

                          5.2 ดินขาดธาตุอาหารพืชบางธาตุ


                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 การอนุรักษดินและน้ํา  โดยเฉพาะพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทเกิน 5 เปอรเซ็นต โดยดําเนินการดังนี้

                         1) การใชวัสดุคลุมผิวดิน เชน ฟางขาว เศษพืชตางๆ เพื่อลดแรงกระแทกของเม็ดฝนตอผิวดิน และ
                  ลดการสูญเสียน้ําจากผิวดินไดมาก วิธีนี้ใชไดดีในการปลูกพืชไรและพืชผัก เมื่อวัสดุคลุมดินเหลานี้สลายตัว

                  ยังชวยเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดินอีกดวย

                         2) การปลูกพืชคลุมดิน เชน ปลูกพืชตระกูลถั่วหรือหญาคลุมดิน เพื่อชวยลดการชะลางพังทลาย วิธี

                  นี้เหมาะสําหรับสวนไมผลและไมยืนตน

                         3)  การสรางสิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้ําที่ผิวดินเมื่อฝนตกหนัก เชน  ทําคันดิน ปลูกพืชเปน
                  แถบขวางแนวความลาดเทของพื้นที่  ทําคันเบนน้ํา ขุดรองระบายน้ํา ขุดบอดักตะกอน หรือบอน้ําประจําไร

                  นา วิธีการเหลานี้จะชวยชะลอการไหลบาของน้ําบนผิวดิน และลดการชะลางพังทลายของดินดวย


                          6.2  การจัดระบบการปลูกพืชหมุนเวียน  โดยปลูกพืชไรหรือพืชผักหมุนเวียนกับพืชตระกูลถั่วซึ่ง
                  เปนพืชบํารุงดิน หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวางแถวไมผล และไมยืนตนขณะที่พืชหลักมีอายุไมเกิน 5 ป

                  วิธีนี้นอกจากจะชวยปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดินแลว ยังเพิ่มรายไดแกเกษตรกรอีกทางหนึ่งดวย


                  7. ขอเสนอแนะ

                         กลุมชุดดินที่ 28  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร พืชผักและไมผล แตไมเหมาะสมในการทํา

                  นา เนื่องจากสภาพพื้นที่บางสวนเปนที่ดอน การเก็บกักน้ําใหเพียงพอกับการเจริญเติบโตของขาวทําไดยาก
                  อยางไรก็ตามการใชประโยชนของกลุมชุดดินนี้ ควรเนนการเกษตรแบบผสมผสาน เชน มีการปลูกพืชไร ไม

                  ผล และหญาเลี้ยงสัตวควบคูกัน โดยเฉพาะระหวางแถวไมผลควรปลูกหญาผสมถั่วเพื่อใชเลี้ยงสัตว
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172