Page 157 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 157

143



                  ดวยปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 15-50 และ 2 กก./ตนตามลําดับ และ 2) ระยะกอนออกดอกใชปุยสูตร 8-24-

                  24 อัตรา 2 กก./ตน โดยใหปุยหลังจากที่ฝนทิ้งชวง

                         9.3.3 มังคุด  มังคุดชวงยังไมใหผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 0.5 กก./ตน แบงใส 2 ครั้ง คือ

                  ตน และปลายฤดูฝน มังคุดใหผลผลิตแลวแบงการใหปุยเปน 4 ระยะ คือ 1) ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ใช

                  ปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 2 กก./ตน รวมดวยปุยคอกที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 2-3 ปบ/ตน กอนใหปุยควรขุด

                  หลุมเปนระยะรอบทรงพุมจากนั้นหยอดปุยลงในหลุมแลวจึงกลบปดปากหลุม 2) ระยะกอนออกดอกควรใช
                  ปุยสูตร 12-24-12 หรือ 8-24-24 อัตรา 2 กก./ตน โดยใหปุยชวงปลายฝน 3) ระยะดอกบาน และเริ่มติดผล

                  เล็ก ใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และ 4) เมื่อผลมีอายุ 4-5 สัปดาห ใชปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1

                  กก./ตน โดยหวานรอบทรงพุมแลวคราดกลบบางๆ

                  10. สรุป


                         กลุมชุดดินที่ 27 ประกอบดวยชุดดินหนองบอน และทาใหม พบในสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                  ถึงลอนชันบนธารลาวา  หรือที่ราบสูงของธารลาวาในจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด  ใชประโยชนในการ
                  ปลูกไมผล ไมยืนตน และพืชไรเปนสวนใหญ และยังคงสภาพเปนปาดิบชื้นในบางบริเวณ


                         ลักษณะเนื้อดินเปนดินเหนียว  สีแดง รวนซุย มีความพรุนในดินชั้นลางสูง สภาพการระบายน้ําดี
                  ความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก พีเอชอยูระหวาง 5.0-5.5


                         กลุมชุดดินที่ 27  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกไมผล ไมยืนตน พืชไรและพืชผัก  การผลิตพืชจะ

                  ไดผลดีหากใชระบบเกษตรแบบผสมผสาน เชน ปลูกไมผล-ไมยืนตน-พืชไร-หญาเลี้ยงสัตว  หรือปลูกพืชไร-

                  หญาเลี้ยงสัตว-พืชผัก หรือไมยืนตน-หญาเลี้ยงสัตว เปนตน

                         ปญหาสําคัญที่เปนอุปสรรคในการใชที่ดิน  ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดินสูง ความอุดม

                  สมบูรณของดินต่ํา และดินกักเก็บความชื้นไดนอย

                         การจัดการดินเพื่อใหมีสภาพเหมาะแกการปลูกพืช ไดแก 1) การอนุรักษดินและน้ํา โดยเฉพาะพื้นที่

                  ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 5 เปอรเซ็นต ขึ้นไป วิธีการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม มีทั้งวิธีกลและวิธีการที่ใช

                  พืช และ 2) ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน โดยการใชปุยอินทรีย และเสริมดวยปุยเคมีตามความจําเปน
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162