Page 20 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต อ้อยโรงงาน ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 20

6



                         3.5  พื้นที่ดําเนินงาน


                         ครอบคลุมพื้นที่ปลูกออยโรงงาน  47  จังหวัด  ใน  4  ภูมิภาค  คือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  19

                  จังหวัด  ภาคกลาง  11  จังหวัด  ภาคเหนือ  11  จังหวัด  และภาคตะวันออก  6  จังหวัด


                         3.6  ระยะเวลาดําเนินการ



                         เริ่ม    เดือนตุลาคม  พ.ศ. 2548
                         สิ้นสุด   เดือนกันยายน  พ.ศ. 2549

                         รวมเวลาในการดําเนินการทั้งสิ้น  12  เดือน



                  4.  ผลที่คาดวาจะไดรับ


                          1. แผนที่ในระบบ  Digital  ที่แสดงพื้นที่ปลูกออยโรงงานและผลผลิต  เปนรายตําบล  รายอําเภอ

                  และรายจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ภาคกลาง  ภาคเหนือ  และภาคตะวันออก  ปการผลิต 2549

                         2.   ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS  Database )  ดานการผลิตออยโรงงาน   ปการผลิต
                  2549




                  5.  ผลการดําเนินงาน



                         5.1  การกระจายพันธุออยโรงงาน


                         จากการสํารวจและรวบรวมขอมูล  สามารถสรุปพันธุออยโรงงานที่เกษตรกรนิยมปลูก  ไดดังนี้

                         1)  พันธุK84-200  พบวานิยมปลูกกระจายในทุกภูมิภาค  โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคกลาง  และ

                  ภาคเหนือเปนพันธุที่นิยมปลูกมากที่สุด  เปนพันธุของกระทรวงอุตสาหกรรม  ทรงกอแคบ  คอใบสีน้ําตาล
                  แดงเขม   กาบใบมีไขมาก  ไมมีขน  ปลองปองกลาง  แตกกอนอย  โตชาในระยะแรก   ทนทานการหักลม

                  ตานทานตอโรคแสดําและเหี่ยวแดง  ทนทานตอหนอนกอลายจุดใหญ  และทนทานปานกลางตอหนอนกอ

                  ลายจุดเล็ก

                         2)  พันธุLK92-11  เปนพันธุที่นิยมปลูกมากในภาคเหนือ  ทรงกอคอนขางกวาง  ลําใหญ  มีสีเขียว
                  อมเหลือง  มีไขหนา  แผนใบสีเขียวเขม  คอนขางกวาง  ใบยาว  ใบยอดชี้  กาบใบสีเขียวอมมวง  มีขนหลัง

                  กาบใบเล็กนอย  คอใบสีน้ําตาล  รูปรางคลายสี่เหลี่ยม    เติบโตเร็ว  แตกกอมาก  เฉลี่ย  7 - 8  ลําตอกอ

                  ทนแลงไดดี  ตานทานปานกลางตอโรคเหี่ยวเนาแดง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25