Page 19 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต อ้อยโรงงาน ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 19

5



                  เพื่อระบุตําแหนงจุดสํารวจที่แนนอน  ซึ่งสามารถอางอิงไดกับแผนที่ภูมิประเทศ  มาตราสวน  1 : 50,000

                  เข็มทิศสนาม   และกลองถายรูปบันทึกภาพ   เพื่อชวยในการวิเคราะหขอมูลดาวเทียมใหถูกตองมาก
                  ยิ่งขึ้น  ทั้งนี้โดยมีเปาหมายการเก็บขอมูลครอบคลุมทุกตําบล

                                3.3  จัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกออยโรงงานรายตําบล  ของแตละจังหวัด


                         4)  สรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS  database )  โดยการนําเขาขอมูลทั้งในรูปแผนที่

                  จุดพิกัด  พรอมคุณลักษณะของจุดตรวจสอบจากภาคสนาม  เพื่อสรางฐานขอมูลในการวิเคราะหพื้นที่ปลูก

                  และประเมินผลผลิต  ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS )  ดังนี้

                                4.1  ฐานขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial  data )  ประกอบดวย

                                     -  แผนที่แสดงพื้นที่ปลูกออยโรงงาน  โดยวิเคราะหจากขอมูลดาวเทียม
                                     -  แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล  จากกรมการปกครอง

                                     -  แผนที่เสนทางคมนาคม

                                     -  พิกัดของจุดตรวจสอบขอมูลจากภาคสนาม ( แบบสอบถาม )

                                4.2  ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute  data ) เปนการกําหนดคุณลักษณะของ

                  แผนที่นําเขาแตละประเภทขอมูล (  จากแบบสอบถามภาคสนาม )   จากนั้นสรางความสัมพันธระหวาง

                  ฐานขอมูลทั้งสอง  เพื่อเตรียมความพรอมในการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป


                         5)  การหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล  เปนการหาคาผลผลิตเฉลี่ยของออยโรงงาน  โดย

                  รวบรวมขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของทุกจุดตรวจสอบ ( รวมพันธุ )  ในแตละตําบล  แลวหาคาเฉลี่ย  จากนั้นจึงนําไป

                  คํานวณหาผลผลิตรวมของตําบลนั้นๆ  ในกรณีที่บางตําบลมีจํานวนจุดตรวจสอบนอย  ก็ทําไดโดยการรวมกับ
                  ตําบลอื่นๆ  ที่อยูใกลเคียงแลวหาคาเฉลี่ย   สําหรับบางตําบลที่ไมมีขอมูลจากจุดตรวจสอบ   ก็ใชคาเฉลี่ยของ

                  ตําบลขางเคียง


                         6)   การวิเคราะหและประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร   เปนการวิเคราะห

                  เพื่อหาพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมของออยโรงงานเปนรายตําบล  จากฐานขอมูลที่ไดจากขอ  4  และขอ  5

                  โดยวิธีการซอนทับทางคณิตศาสตร ( Intersection )  ของแผนที่แสดงเขตการปกครองระดับตําบล  ของ

                  แตละจังหวัด  ดวยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร  ผลที่ไดคือ  พื้นที่ปลูก  และผลผลิตรวมของ   ออย

                  โรงงานเปนรายตําบลทั้ง  47  จังหวัด  จากนั้นจัดทําแผนที่แสดงรายละเอียด  เพื่อเผยแพรตอไป
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24