Page 17 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิตสับปะรด ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 17
6
- แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล
- แผนที่เสนทางคมนาคม
- พิกัดของจุดตรวจสอบขอมูลจากภาคสนาม ( แบบสอบถาม )
- แผนที่กลุมชุดดิน
- แผนที่จําแนกความเหมาะสมของดิน สําหรับสับปะรด
4.2 ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data ) เปนการกําหนดคุณลักษณะของ
แผนที่นําเขาแตละประเภทขอมูล ( จากแบบสอบถามภาคสนาม ) จากนั้นสรางความสัมพันธระหวาง
ฐานขอมูลทั้งสอง เพื่อเตรียมความพรอมในการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป
5) การหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล เปนการหาคาผลผลิตเฉลี่ยของสับปะรด โดยรวบรวม
ขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของทุกจุดตรวจสอบ ( รวมพันธุ ) ในแตละตําบล แลวหาคาเฉลี่ย จากนั้นจึงนําไป
คํานวณหาผลผลิตรวมของตําบลนั้นๆ ในกรณีที่บางตําบลมีจํานวนจุดตรวจสอบนอย ก็ทําไดโดยการรวม
กับตําบลอื่นๆที่อยูใกลเคียงแลวหาคาเฉลี่ย สําหรับบางตําบลที่ไมมีขอมูลจากจุดตรวจสอบ ก็ใชคาเฉลี่ยของ
ตําบลขางเคียง หรือจากคาผลผลิตเฉลี่ยระดับอําเภอของกรมสงเสริมการเกษตร ปการเพาะปลูก 2547/48
6) การวิเคราะหและประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เปนการวิเคราะห
เพื่อหาพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมของสับปะรดเปนรายตําบล จากฐานขอมูลที่ไดจากขอ 4 และขอ 5
โดยวิธีการซอนทับทางคณิตศาสตร ( Intersection ) ของแผนที่แสดงเขตการปกครองระดับตําบล ของแต
ละจังหวัด ดวยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร ผลที่ไดคือ พื้นที่ปลูก และผลผลิตรวมของสับปะรดเปน
รายตําบลของทั้ง 21 จังหวัด จากนั้นจัดทําแผนที่แสดงรายละเอียด เพื่อเผยแพรตอไป
3.5 พื้นที่ดําเนินงาน
ครอบคลุมพื้นที่ปลูกสับปะรด 21 จังหวัดใน 5 ภาค คือภาคกลางไดแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ
เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี ภาคตะวันออกไดแก จังหวัดระยอง ชลบุรี ตราด
ฉะเชิงเทรา และจังหวัดจันทบุรี ภาคเหนือไดแก จังหวัดอุทัยธานี ลําปาง พิษณุโลก เชียงราย พะเยา
และจังหวัดอุตรดิตถ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแก จังหวัดหนองคาย ชัยภูมิ นครพนม และจังหวัดเลย
ภาคใตไดแก จังหวัดชุมพร