Page 65 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 65

48



                        ดินเค็มคือดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายน้ําไดมากเกินไปจนเปนอันตรายตอพืช  โดยพิจารณาจาก

             คาการนําไฟฟาของสารละลายดิน (eletrical conductivity, ECe)  ที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวดวยน้ํา (saturation

             extract)  ที่อุณหภูมิ 25  องศาเซลเซียส  คารอยละของโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได (exchange able sodium
                                                                                      2
             percentage, ESP) และคาอัตราสวนการดูดซับโซเดียม (Sodium adsorption ratio  , SAR) ซึ่งดินที่ไดรับผล
             กระทบจากเกลือสามารถจําแนกไดเปน 3 ชนิดดังนี้


                        1 ดินเค็ม (saline soil) คือดินที่มีคาการนําไฟฟาของสารละลายดิน (ECe) ที่สกัดจากดินที่อิ่มตัว

             ดวยน้ําสูงกวา 2 เดซิซีเมนตอเมตร (dS/m) ที่อุณหภูมิ 25  c เปอรเซ็นตของโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได (ESP) นอย
                                                              ๐
             กวา 15 pH  มักจะนอยกวา 8.5  เกลือที่พบมักเปนเกลือคลอไรดและซัลเฟตของโซเดียม  แคลเซียม  และ

             แมกนีเซียม  สวนใหญเปนเกลือแกง (NaCl)  ถามีโซเดียมมากเกินไปจะมีผลเสียตอโครงสรางของดินทําให

             อนุภาคของดินฟุงกระจาย (USSL, 1954)



                            2  ดินโซดิก  หรือดินดาง (sodic soil)  คือ  ดินที่มีคาเปอรเซ็นตของโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได
             (ESP) มากกวา 15 คาการนําไฟฟาของสารละลายดิน (EC) ที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวดวยน้ําต่ํากวา 2 dS/m ที่ 25 ๐

             C  มีคา pH  ที่วัดได  อยูระหวาง 8.5-10  มักพบในเขตกึ่งแหงแลงและเขตแหงแลง  เกลือที่พบมักเปนเกลือ

             คารบอเนตของโซเดียม  ซึ่งกอใหเกิดการฟุงกระจายของอนุภาคของดิน  ทําใหดินเปลี่ยนไปอยูในสภาพที่ไม

             เหมาะกับการเคลื่อนที่ของน้ําและการไถพรวน     นอกจากนี้การเคลื่อนยายของเกลือที่มากเกินไปจะเพิ่มการ
             ละลายของโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได  ทําให pH  เพิ่มขึ้นในดินดางจัดจะเกิดการฟุงกระจายและการละลายของ

             อินทรียวัตถุออกมาที่ผิวดินโดยการระเหย


                            3 ดินเค็มโซดิก (Saline-sodic soil) คือดินที่มีเกลือปริมาณมากเกินไป มีคาการนําไฟฟาของ

                                                                                     ๐
             สารละลายดิน (EC) ที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวดวยน้ํามากกวา 2 dS/m ที่อุณหภูมิ 25 C คาเปอรเซ็นตโซเดียมที่
             แลกเปลี่ยนได (ESP) มากกวา 15 คาอัตราสวนการดูดซับโซเดียม (SAR) มากกวา 13 คา pH อาจสูงถึง 8.5 แต

             โดยทั่วไปมักต่ํากวา 8.5


             การวัดคาความเค็มของดิน


                            ความเค็มของดินสามารถประเมินไดจากการนําไฟฟาของดิน (Electrical Conductiviity ; EC)
             ซึ่งจะผันแปรตามปริมาณเกลือที่ละลายน้ําได  ปกติจะวัดความเค็มของดินจากคาการนําไฟฟาของสารละลายที่

             สกัดจากดินขณะอิ่มตัว (saturation) อยางไรก็ตามเพื่อความสะดวกอาจใชอัตราสวนดินตอน้ํา 1: 2 ; 1:5 ซึ่ง

             การรายงานคาตองระบุอัตราสวนของดินตอน้ําดวย คาการนําไฟฟา (EC) นอกจากจะขึ้นอยูกับปริมาณเกลือที่

             ละลายน้ําไดแลว ยังขึ้นอยูกับอุณหภูมิขณะทําการวัดดวย ในการวัดจะใชคาที่อุณหภูมิ 25  องศาเซลเซียส  ซึ่ง

             ถือเปนมาตรฐานทั้งนี้เพราะคาการนําไฟฟาจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2% ตอองศาเซลเซียส


                            การวัดคาการนําไฟฟานอกจากจะใชในการบงบอกปริมาณเกลือในดินเค็มแลวยังนํามาใชใน
             การบงบอกคุณภาพของน้ําชลประทานได
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70