Page 44 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 44

34   ชุดดินรังสิต (Rangsit: Rs)



                                  กลุมชุดดินที่   11

                                  การจําแนกดิน  Very-fine, mixed, semiactive, acid, isohyperthermic Sulfic
                                                   Endoaquepts

                                  การกําเนิด       ตะกอนภาคพื้นสมุทรผสมกับตะกอนลําน้ํา
                                  สภาพพื้นที่      ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %

                                  การระบายน้ํา                   คอนขางเลว

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชา
                                  สภาพซึมผานไดของน้ํา          ชา

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ทํานา ยกรองปลูกสม สน หรือพืชผัก
                                  การแพรกระจาย           พบทางตะวันออกเฉียงใตของที่ราบลุมภาคกลาง

                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Apg-Bg-Bjg-Cjg-Cg

                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินลึก ดินบนเปนดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขม มีจุดประสี
                                  น้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH  4.0-5.0)  มักมีรอยแตกระแหงที่

                                  ผิวหนาดินในฤดูแลง ดินบนตอนลางสีน้ําตาลปนเทา หรือน้ําตาลปนเทาเขม มีจุดประสีแดง หรือสี
                                  แดงปนเหลือง ที่ระดับความลึกประมาณ 50-100 ซม.  พบจุดประสีเหลืองฟางขาวของสารจาโรไซต

               ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว  พบรอยไถและผิวหนาอัดมัน สวนที่ระดับลึกกวา 100-150  ซม.  ลงไปมีลักษณะเปน

               ดินเลน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH <4.0)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25      ปานกลาง          สูง            ต่ํา          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 25-50     ปานกลาง          สูง            ต่ํา          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                50-100        ต่ํา          สูง         ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินเสนา  ชุดดินองครักษ  ชุดดินธัญบุรี  ชุดดินอยุธยา  และชุดดินมหาโพธิ

               ขอจํากัดการใชประโยชน         เปนกรดจัดมาก หรือเปนดินเปรี้ยวจัด เกิดการตรึงธาตุอาหารและมีสารที่เปน

               พิษตอพืชที่ปลูก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      ควบคุมน้ําใตดินเพื่อปองการเกิดออกซิเจนของไพไรต การยกรองปลูกพืชเปนวิธี

               หนึ่งที่สามารถปองกันการเกิดกรดดังกลาวได ถาจะใชปลูกขาว ควรใชปูนมารลในอัตรา 2 ตันตอไร ควบคูไปกับการใชปุย
               ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ถาคาปฏิกิริยาดิน วัดไดนอยกวา 4.5 และถาคาปฏิกิริยาดินสูงกวา 4.5  ใชปุยและหินฟอสเฟต

               ก็พอ  เลือกพันธุพืชที่เหมาะสม






                                                                                                            36
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49