Page 40 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 40

30   ชุดดินองครักษ (Ongkharak Series: Ok)



                                 กลุมชุดดินที่ 10

                                 การจําแนกดิน  Very-fine, mixed, semiactive, acid, isohyperthermic Sulfic Endoaquepts
                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนน้ํากรอยพามาทับถมอยูบนที่ราบลุมน้ําทวมถึง

                                 สภาพพื้นที่   ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %
                                 การระบายน้ํา                 เลว

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา

                                 สภาพซึมผานไดของน้ํา        ชา
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ทํานา  ยกรองปลูกสม สนหรือพืชผัก

                                 การแพรกระจาย                พบทางตอนกลางและทางใตของที่ราบลุมภาคกลาง

                                 การจัดเรียงชั้นดิน           Apg-Bssjg-Big-BCg-Cg
                                 ลักษณะและสมบัติของดิน        เปนดินลึก ดินบนเปนดินเหนียว มีสีดําหรือสีเทาเขม มีจุดประ

                                 สีแดงปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงกรดจัดมาก (pH 4.0-4.5)  ดินบน
                                 ตอนลาง  เปนดินเหนียวมีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทาและเปนดินเลนสีเทาเขม  มีจุดประสีแดง สี

                                 น้ําตาลแกและมีจุดประสีเหลืองฟางขาวภายในระดับความลึก 50  ซม.  จากผิวดิน  ปฏิกิริยาดินเปน
                                 กรดรุนแรงมาก (pH 4.0) ดินลางตอนลางเปนดินเลนเหนียวทะเล  สีเทาถึงสีเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปน

               กรดรุนแรงมาก (pH 4.5)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25      ปานกลาง          สูง         ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 25-50        ต่ํา        ปานกลาง          สูง           ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                50-100        ต่ํา          สูง         ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินรังสิต  ชุดดินธัญบุรี  ชุดดินเสนา  และชุดดินมหาโพธิ

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินเปนกรดจัดมากทําใหพืชที่ปลูกขาดธาตุฟอสฟอรัสและไนโตรเจนอยางชัดเจน
               และมีเหล็กหรืออะลูมิเนียมที่ละลายออกมามากเกินไปจนเปนพิษตอพืชที่ปลูกและมีน้ําทวมขังลึก 1 เมตร นาน 6-7 เดือน

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควบคุมน้ําใตดินเพื่อปองกันไมใหเกิดดินกรดกํามะถันหรือดินเปรี้ยวจัด  การยกรอง
               ปลูกพืชก็เปนวิธีหนึ่งที่สามารถปองกันการเกิดดินเปรี้ยวจัดดังกลาวได ถาจะใชปลูกขาวควรใชปูนมารลในอัตรา 2 ตันตอ

               ไร ควบคูไปกับการใชปุยไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส










                                                                                                            32
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45