Page 92 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 92

ผ-1






                                                        ภาคผนวก


                            ลักษณะและคุณสมบัติของหนวยที่ดินบริเวณลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันตกสวนที่ 2  1/

                            1. หนวยที่ดินที่ 5 พบบริเวณลานตะพักน้ําระดับต่ํา เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําเกา

                  ในบริเวณที่ราบชายฝงและบริเวณที่มีเขาหินปูนโดดๆ พื้นที่มีลักษณะราบเรียบมีความลาดชัน 0-1 เปอรเซ็นต

                  มีการระบายน้ําเลว น้ําซึมผานไดชา มีน้ําทวมขังบนผิวดินนานถึง 4-5 เดือน เปนดินลึกมาก ดินบนมีเนื้อดิน
                  เปนดินรวนปนดินเหนียว ดินรวนเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียวปนทรายแปง มีสีเทาหรือสีน้ําตาลปนเทา

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง pH 5.9 ดินลางเนื้อดินเปนดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว มีสีเทา

                  มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีเหลืองตลอดชั้น  ปฏิกิริยาดินเปนดางออน pH 7.8  ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา
                  การใชประโยชนที่ดินสวนใหญ ใชในการทํานา ปญหาของหนวยที่ดินนี้คือ ดินขาดความอุดมสมบูรณ

                  และจะมีน้ําทวมขังนานหลายเดือน ทําใหการเพาะปลูกพืชทางการเกษตรเกิดความเสียหาย

                            2. หนวยที่ดินที่ 17    พบตามลานตะพักน้ําระดับต่ํา  ลักษณะสภาพพื้นที่คอนขางเรียบ  มี
                  ความลาดชัน 1-2 เปอรเซ็นต เกิดจากการพัดพาของตะกอนลําน้ําเกามาทับถมบนลานตะพักลําน้ําระดับต่ํา

                  เปนดินลึกมากมีการระบายน้ําคอนขางเลว  น้ําซึมผานไดคอนขางชา  ฤดูฝนจะมีน้ําขังอยูบนผิวดินตลอดฤดู

                  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทรายสีพื้นสีเทาถึงสีน้ําตาลปนทราย มีจุดประ
                  สีสนิมเหล็กอยูตามรากพืช  มีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมา pH 5.1  ดินจะมีปริมาณแรธาตุอาหารต่ํา

                  ลักษณะทางกายภาพของดินชุดนี้คอนขางเหลว  เนื่องจากการระบายน้ําเลว  มีน้ําขังบนผิวดินตลอดเวลา

                  ในฤดูฝน การใชประโยชนที่ดินบริเวณนี้สวนมากใชทํานา

                            3. หนวยที่ดินที่ 26 พบบริเวณเนินเขา เกิดจากการสลายตัวของหินแกรนิตโดยตรง ลักษณะ
                  พื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลาดชัน มีความลาดชันนอยกวา 2 เปอรเซ็นต เปนดินลึก มีการระบายน้ําดี น้ําซึม

                  ผานไดเร็ว  การไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็วถึงปานกลางขึ้นอยูกับความลาดชันของพื้นที่  การสูญเสียของ

                  หนาดินจะเกิดขึ้นหลังจากฝนตกเสมอ    ดินบนลักษณะเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายสีน้ําตาลเขม
                  หรือสีเขมของน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก pH 4.4 ดินลางลักษณะเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือ

                  ดินเหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปนกรวดปนทราย     สีพื้นมีสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาล

                  ปนแดง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด pH 4.8  ความอุดมสมบูรณของดินตามธรรมชาติต่ํา  การใชประโยชนที่ดิน

                  สวนใหญใชปลูกยางพารา  ปาลมน้ํามัน  และไมผลตางๆ  ปญหาของหนวยที่ดินนี้คือการสูญเสียหนาดิน
                  อยางรุนแรงโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดังนั้นจึงตองมีการจัดการที่ดี

                            4. หนวยที่ดินที่ 26B  หนวยที่ดินนี้มีคุณสมบัติและลักษณะตางๆ  ของดินรวมทั้งการใช

                  ประโยชนที่ดินเหมือนกับหนวยที่ดินที่ 26  ทุกประการแตกตางกันที่พบในบริเวณที่มีสภาพพื้นที่ที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต การไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว ปริมาณการสูญเสียดิน

                  เพื่อปลูกยางพารา 9.43 ตันตอไรตอป ศักยภาพของการสูญเสียดิน 42.84 ตันตอไรตอป



                  1/
                    พิมพิลัย  นวลละออง  การจําแนกหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันตกสวนที่ 2  2542
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96