Page 79 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 79

4-15




                     อัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ 1.74  หรือคิดเปนอัตราผลตอบแทนรอยละ 74  ของ

                     เงินลงทุน

                                ถั่วเหลืองครั้งที่ 1 (ตนฝน)–ถั่วเหลืองครั้งที่ 2 (ปลายฝน)–ถั่วเหลืองครั้งที่ 3 (ฤดูแลง)  เกษตรกร

                     บางรายสามารถปลูกถั่วเหลืองไดถึง 3  ครั้งในรอบปการผลิต  บนเนื้อที่ปลูกเดียวกันโดยมีมูลคาผลผลิต
                     เฉลี่ยไรละ 6,518.80 บาท ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 1,701.59 บาท และผลตอบแทน

                     สุทธิเฉลี่ยไรละ 707.76 บาท  มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ 1.12 หรือคิดเปนอัตรา

                     ผลตอบแทนรอยละ  12  ของเงินลงทุน (ตารางที่ 4-1)

                                หนวยที่ดินที่ 33.2B     มีการใชประโยชนที่ดิน 1 ประเภท ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว พันธุ

                     888-ถั่วเขียวผิวดํา   พืชครั้งที่ 1 ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว พันธุ 888  ตามดวยพืชครั้งที่ 2 ไดแก ถั่วเขียวผิว

                     ดํา   ขาวโพดเลี้ยงสัตวใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 489.88 กิโลกรัม  ถั่วเขียวผิวดําใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 164.27

                     กิโลกรัม รวมการเพาะปลูกพืช 2 ชนิด จะมีมูลคาผลผลิตเฉลี่ยไรละ   3,620.53 บาท  ไดรับผลตอบแทน
                     เหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 1,012.59 บาท และผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ 243.84 บาท มีอัตราสวน

                     ระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ 1.07  คิดเปนอัตราผลตอบแทนเพียงรอยละ 7  ของเงินลงทุน

                     (ตารางที่ 4-1)

                                หนวยที่ดินที่ 33.2I   มีการใชประโยชนที่ดิน 2 ประเภท ไดแก (1) ถั่วเหลือง 3 ครั้ง ได
                                                 3
                     แก  ถั่วเหลืองตนฝน   ถั่วเหลืองปลายฝน และถั่วเหลืองฤดูแลง  (2) พริกชี้ฟาเม็ดใหญ   การปลูกถั่วเหลือง

                     3 ครั้ง จะเปนการปลูกครั้งที่ 1 ตามฤดูฝน   ครั้งที่ 2 ปลูกปลายฤดูฝน   และครั้งที่ 3   ปลูกในฤดูแลง    รวม
                     การปลูกทั้ง 3 ครั้ง จะใหผลผลิตที่ใกลเคียงกันมากสุด ไดแก  ถั่วเหลืองครั้งที่ 1  รองลงมาไดแก ครั้งที่ 2

                     และครั้งที่ 3 เฉลี่ยไรละ 244.77 กิโลกรัม 236.99 กิโลกรัม และ 231.72 กิโลกรัม ตามลําดับ  มีมูลคาผลผลิต

                     ของถั่วเหลืองทั้ง 3 ครั้งเฉลี่ยไรละ 7,473.60 บาท ไดรับผลตอบแทนเฉลี่ยไรละ 2,643.34 บาท ผลตอบแทน

                     สุทธิเฉลี่ยไรละ 1,131.12 บาท   มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ 1.18

                                พริกชี้ฟาเม็ดใหญ  ใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 166.27 กิโลกรัม มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ยไรละ 9,976.20

                     บาท   ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ   5,902.49  บาท   ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ
                     4,932.00 บาท    มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ 1.98 หรือคิดเปนอัตราผลกําไร

                     ถึงรอยละ  98  ของการลงทุน   ซึ่งจะไดรับผลตอบแทนดีกวาการปลูกถั่วเหลืองทั้ง  3  ครั้ง  (ตารางที่ 4-1)
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84