Page 77 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 77

4-13




                                ในสวนของออยโรงงานปที่  2   จะใหผลตอบแทนเปนผลกําไร    ทั้งผลตอบแทนเหนือ

                     ตนทุนผันแปรและผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ  2,982.31 บาท   และ 1,978.60 บาท ตามลําดับ มีอัตรา
                     สวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ   1.38    ขณะเดียวกันเมื่อพิจารณามูลคาผลผลิตออยโรง

                     งานทั้ง 3  ป  จะพบวา ผลตอบแทนมีผลเปนกําไร ทั้งผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนสุทธิ

                     เฉลี่ยไรละ 1,437.89 บาท  และ  415.59 บาท  ตามลําดับเชนเดียวกัน มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอ
                     การลงทุนเทากับ 1.07  (ตารางที่ 4-1)


                                หนวยที่ดินที่ 31B   มีการใชประโยชนที่ดินเพียง 1 ประเภท  ไดแก   (1) ถั่วเหลือง 3 ครั้ง  ไดแก

                     ถั่วเหลืองตนฝน ถั่วเหลืองปลายฝน และถั่วเหลืองฤดูแลง   ถั่วเหลืองที่ปลูกทั้ง  3  ครั้งในแปลงเดียวกัน
                     จะใหผลตอบแทนเปนผลกําไรทั้งหมด  ทั้งผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนสุทธิ   โดย

                     เฉพาะถั่วเหลืองปลายฝน  จะใหผลตอบแทนสูงที่สุด  เมื่อรวมการปลูกถั่วเหลืองทั้ง  3  ครั้งในแปลง

                     เดียวกัน   มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ยไรละ 9,211.63 บาท   ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ

                     4,083.18 บาท ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ 3,540.98 บาท มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุน
                     เทากับ 1.62  คิดเปนอัตราผลตอบแทนรอยละ  62  ของการลงทุน (ตารางที่ 4-1)


                                หนวยที่ดินที่ 33.2  มีการใชประโยชนที่ดิน 8 ประเภท ไดแก (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว  (2)
                     สมเขียวหวาน   (3) สมโอ   (4) ออยโรงงาน   (5) พืชไร คือ  กลวยไข ฝาย มันสําปะหลัง (6) ขาวโพด

                     เลี้ยงสัตว–ถั่วเหลือง  (7) ขาวโพดเลี้ยงสัตว–ถั่วเขียวผิวมัน (8) ถั่วเหลืองครั้งที่ 1 (ตนฝน)–ถั่วเหลืองครั้ง

                     ที่ 2 (ปลายฝน)–ถั่วเหลืองครั้งที่ 3 (ฤดูแลง)


                                เกษตรกรที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตเพียงอยางเดียว ใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 857.14 กิโลกรัม มี
                     มูลคาผลผลิตเฉลี่ยไรละ 3,171.42  บาท  ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไร

                     ละ 1,534.93 บาท  และ 1,035.61 บาท  ตามลําดับ  มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ

                     1.48 หรือคิดเปนอัตราผลตอบแทนรอยละ  48  ของเงินลงทุน

                                สมเขียวหวาน  เปนสมที่ปลูกกันเปนเวลานานพอสมควร จะเริ่มใหผลผลิตตั้งแตปที่ 4 ขึ้นไป

                     เกษตรกรที่ปลูกสมเขียวหวานในหนวยที่ดินนี้จะปลูกสมรายละหลายๆ ป โดยเฉพาะสมเขียวหวาน 7 ปขึ้นไป
                     สมเขียวหวานอายุ 4-6 ป   จะใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 906.67 กิโลกรัม   ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผัน

                     แปรและผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ  5,323.10  บาท  และ  4,604.70  บาท  ตามลําดับ  มีอัตราสวนระหวาง

                     ผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ  2.21  สมเขียวหวานอายุตั้งแต 7 ปขึ้นไป  ใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 2,310.45
                     กิโลกรัม   ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยไรละ 17,682.69  บาท   และ 1

                     7,045.17 บาท  ตามลําดับ  มีอัตราสวนระหวางผลตอบแทนตอการลงทุนเทากับ 4.10
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82