Page 39 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 39

29




                 ผลิตมีราคาสูง  การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว มีปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูง  ศัตรูพืชรบกวน  ราคาผลผลิตตกต่ํา

                 การผลิตสมเขียวหวาน  มีปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูง  ศัตรูพืชรบกวน  ราคาผลผลิตตกต่ํา  โรคผลรวง  โรคราก

                 เนา

                 ขอเสนอแนะ


                               เพื่อใหการวางแผนการใชที่ดินในลุมน้ําสาขาหวยแมสินใชไดผลตามความมุงหมายจึงมีขอ
                 เสนอแนะดานเศรษฐกิจและสังคมดังนี้

                               1.  ใหความชวยเหลือดานปญหาในการผลิตทางการเกษตร  เกษตรกรมีปญหาเกี่ยวกับราคาผลผลิตตกต่ํา

                 รองลงมาคือ   ปญหาศัตรูพืชรบกวน   ราคาปจจัยการผลิตมีราคาสูงและผลผลิตมีคุณภาพต่ํา  เพราะฉะนั้นรัฐบาลควรให
                 ความชวยเหลือโดยการประกันราคาผลผลิตหรือรับซื้อผลผลิตแทนพอคาคนกลาง   และขายปจจัยการผลิตในราคาต่ํากวา
                 ทองตลาดใหเกษตรกรใชกอนแลวคอยชําระคืนเมื่อไดขายผลผลิตแลว  จะเปนการแกไขปญหาศัตรูพืช  ผลผลิตมีคุณภาพต่ํา

                 ได  เพราะเมื่อราคาปจจัยการผลิตไมสูง  เกษตรกรก็จะซื้อปจจัยการผลิตไดมากขึ้น  ผลผลิตก็มีคุณภาพดีขึ้น  ดังนั้นถารัฐบาล
                 เขามาชวยประกันราคาผลผลิตใหก็จะตรงกับความตองการของเกษตรกรพอดี
                               2.  ทําการฝกอบรม  สาธิตและดูงานใหเกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรหัวหนาครัวเรือนและสมาชิกในครัว

                 เรือนสวนใหญมีการศึกษาเพียงระดับพื้นฐานหรือระดับประถมศึกษา   ดังนั้นรัฐบาลควรใหหนวยงานที่เกี่ยวของเรงทําการ
                 ฝกอบรมสาธิตใหแกเกษตรกรหัวหนาครัวเรือนและสมาชิกในครัวเรือนอยางนอยคนละ 1 ครั้งตอป จะทําใหเกษตรกรได

                 มีความรู  ความเขาใจในการผลิตและการตลาด เชน การคัดเลือกพันธุที่เหมาะสม การเตรียมดิน  การดูแลรักษา  การเก็บ
                 เกี่ยว  การปรับปรุงบํารุงดิน  การอนุรักษดินและน้ํา  มิใหดินเสื่อมโทรมลงตลอดจนการผลิตสัตวใหไดคุณภาพตามความ

                 ตองการของตลาด  ผลผลิตตอหนวยสูงขึ้น  ตนทุนตอหนวยต่ําลงและมีกําไรเพิ่มขึ้น
                               3.  เรงออกหนังสือสําคัญในที่ดินของเกษตรกร    ปจจุบันเกษตรกรในพื้นที่โครงการมีที่ดินที่สามารถ

                 นําไปทําธุรกรรมที่ถูกตองตามกฎหมาย  เชน โฉนดที่ดิน  น.ส.3  และน.ส.3ก  เพียงรอยละ 14.82  ของจํานวนที่ดินที่
                 เกษตรกรถือครอง   เปนผลใหเกษตรกรไมสามารถนําที่ดินที่ยังไมมีเอกสารสิทธิที่ถูกตองตามกฎหมายไปเปนหลักทรัพยใน

                 การกูยืมเงินจากสถาบันการเงินภาคเอกชนไดตองไปกูเงินนอกระบบ   เสียดอกเบี้ยอัตราสูง   ถารัฐบาลสามารถออกหนังสือ
                 สําคัญในที่ดินใหถูกตองตามกฎหมายได  จะทําใหสามารถนําที่ดินไปเปนหลักทรัพยกูยืมเงินได
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44