Page 38 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 38

28




                 เปน ส.ป.ก. 4-01 มากที่สุดคือรอยละ 63.41  รองลงมามีเอกสารสิทธิเปน  น.ส.3 รอยละ 9.38  โฉนดรอยละ 4.76  ส.ท.ก.

                 รอยละ 3.16  น.ส.3ก  รอยละ  0.68  สวนที่เปนที่ดินไมมีหนังสือสําคัญในที่ดินรอยละ  18.61

                               เกษตรกรมีรายไดทั้งหมดเฉลี่ยครัวเรือนละ  92,505.93  บาท  เปนรายไดที่มาจากการผลิต

                 พืช  63,185.57  บาท  รายไดจากการผลิตสัตว  22.22  บาท  รายไดนอกฟารม  29,298.14  บาท  และมีราย

                 ไดทั้งหมดเฉลี่ยครัวเรือนละ  78,179.76  บาท  เปนรายจายในการผลิตพืช  37,043.70  บาท  รายจายในการ

                 ผลิตสัตว  24.07  บาท  รายจายในการครองชีพ  41,111.99  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะมีรายไดสุทธิเฉลี่ยครัว
                 เรือนละ  14,326.17  บาท

                               จากการสํารวจเกี่ยวกับสภาพการผลิตทางการเกษตรโดยแยกตามชนิดของการใชประโยชน

                 ที่ดินในหนวยที่ดินตางๆ  จํานวน 7 หนวยที่ดิน  ปรากฏวาในหนวยที่ดินที่  47.1D  มีการปลูกสมเขียวหวาน

                 อายุ  1-20  ป  เพียงหนวยที่ดินเดียว  และสมเขียวหวานปที่ 17  จะมีผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดสูงที่สุด

                 เฉลี่ยไรละ  21,130.21  บาท  รองลงมาคือขาวโพดเลี้ยงสัตวซึ่งมีปลูกในหนวยที่ดินที่  46.1B  47.1C  47.1B
                 และ  56B  จะมีผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  513.56  บาท  347.37  บาท  336.32  บาท  และ

                 219.25  บาทตามลําดับ  และเกษตรกรที่ปลูกถั่วเหลืองในหนวยที่ดินที่  47.1C  29.1B  และ  46.1B  จะมีผลตอบ

                 แทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  403.14  บาท  68.89  บาท  และ  36.92  บาท  ตามลําดับ  สําหรับถั่วเหลืองที่

                 ปลูกในหนวยที่ดินที่  56B  และ  47.1B  เกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนสุทธิเฉลี่ยไรละ

                 151.39  บาท  และ  155.94  บาทตามลําดับ  สวนขาวเหนียวนาดํามีการปลูกในหนวยที่ดินที่  7.1  เพียง

                 หนวยที่ดินเดียว  เกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนสุทธิเฉลี่ยไรละ  1,370.42  บาท  แต

                 เกษตรกรก็ยังนิยมปลูกขาวเหนียวนาดํา  เนื่องจากตองการนําผลผลิตของขาวที่ไดเก็บไวบริโภคในครัวเรือน  ทั้งนี้
                 จะเห็นไดจากเกษตรกรที่มีความคิดในการเปลี่ยนแปลงการทําการเกษตรปรากฎวา เกษตรกรรอยละ  50.00  มีความ

                 คิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปลูกถั่วเหลืองที่เพิ่มขึ้นและลดลงเทากัน  และเกษตรกรรอยละ  25.00  มีความคิด

                 ที่จะปลูกขาวเหนียวเพิ่มขึ้น   และรอยละ   25.00   มีความคิดที่จะลดการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวลงใน

                 ความคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนไปสูอาชีพนอกการเกษตรนั้นเกษตรกรสวนใหญ  ไมมีความคิดที่จะเปลี่ยนอาชีพ

                 เปนอาชีพอยางอื่น  มีเพียงรอยละ  5.56  เทานั้นที่คิดจะเปลี่ยนไปมีอาชีพคาขาย  เพราะเห็นวามีรายไดที่ดี
                 กวา   สําหรับปญหาในการผลิตพืชแตละชนิดมีดังนี้  การผลิตขาวเหนียวนาปมีปญหาดานปจจัยการผลิตราคา

                 สูง

                              การผลิตสัตว  เกษตรกรผลิตไกบานเพียงอยางเดียวคิดเปนมูลคาผลผลิตครัวเรือนละ  22.22 บาท  ซึ่งเปน

                 รายไดไมเปนเงินสดทั้งหมด   คาใชจายในการผลิตครัวเรือนละ 24.07 บาท  ซึ่งเปนคาใชจายไมเปนเงินสดทั้งหมด

                               สําหรับปญหาในการผลิตพืชแตละชนิดมีดังนี้   การผลิตขาวนาป   มีปญหาดานปจจัยการ

                 ผลิตราคาสูง  ศัตรูพืชรบกวน  การผลิตถั่วเหลือง  มีปญหาดานศัตรูพืชรบกวน  ราคาผลผลิตตกต่ํา  ปจจัยการ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43