Page 26 - ฐานข้อมูลแผนที่แหล่งน้ำประเทศไทย พ.ศ. 2546
P. 26

17





                                   จากรายงานจะเห็นไดวาแหลงน้ําที่มีเนื้อที่ตั้งแต  50  ไรขึ้นไป  ซึ่งมีขอบเขตในแผนที่

                     สามารถนํามาคํานวณหาพื้นที่แหลงน้ําทั้งหมดไดประมาณ  6.950  ลานไร  โดยเปนพื้นที่อางเก็บน้ํา
                     2.152  ลานไร  แมน้ํา  ลําคลอง  1.087  ลานไร  เปนหนองน้ํา  บึง  ทะเลสาบ  1.569  ลานไร  และเปน

                     พื้นที่อื่น ๆ อีกประมาณ  2.142  ลานไร  พื้นที่แหลงน้ําที่ไมมีขอบเขตในแผนที่คือ  แหลงน้ําที่มีเนื้อที่

                     นอยกวา  50  ไร  ซึ่งไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรคํานวณหาเนื้อที่ไดและพื้นที่น้ํากรอยหรือน้ําเค็ม
                     บริเวณปากน้ําที่ไหลลงสูทะเลขึ้นอยูกับลักษณะของลําน้ํานั้น ๆ และลักษณะของภูมิประเทศในแตละภาค

                     วิธีการหาพื้นที่แหลงน้ําทั้งสองไดใหคาตัวเลขตาง ๆ ดังตอไปนี้ คือ  (ตามหมายเหตุตารางที่  3)

                                   -  อางเก็บน้ํามีเนื้อที่อยูในชวง  10–49  ไร  ใหคาเฉลี่ยเทากับ  30  ไร  ในแตละแหง

                                   -  พื้นที่ลําน้ําที่มีความกวางนอยกวา  50  เมตร  ในภาคเหนือเปนพื้นที่เนินเขาและภูเขา
                     ประมาณ  56%   ที่ราบลุมประมาณ  15%   และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่ราบสูงมีพื้นที่ภูเขา

                     ประมาณ  12%  ใหมีพื้นที่ลําน้ําเทากันคือ  30%  ของแมน้ําลําคลองที่คิดเนื้อที่ในแตละภาค  ภาคตะวันออก

                     เปนที่ราบลุมประมาณ  25%  มีลําน้ําสายยอยมาก  มีพื้นที่ภูเขาประมาณ  16%  ใหมีพื้นที่ลําน้ํา  40%

                     ของพื้นที่แมน้ําลําคลองที่คิดเนื้อที่   ภาคกลางสวนใหญเปนที่ราบลุมมีลําน้ําสายยอยจํานวนมากทั้งลําน้ํา
                     ตามธรรมชาติและลําคลองที่สรางขึ้นใหมีพื้นที่ลําน้ํา 60%   ของแมน้ําลําคลองที่คิดเนื้อที่   ภาคใต

                     ลักษณะเปนคาบสมุทรยื่นไปในทะเล  มีเนินเขาและภูเขาประมาณ 40% ของพื้นที่ภาค  เนินเขาและภูเขา

                     จะเปนแนวยาวอยูตอนกลางของภาค  ลําน้ําสวนใหญมีความยาวไมมากใหคาพื้นที่ลําน้ํามี  20%  ของ
                     แมน้ําลําคลองที่คิดเนื้อที่

                                   -  พื้นที่แหลงน้ําอื่น ๆ มีเนื้อที่ 1-49  ไร  ใหมีคาเฉลี่ยแหงละ  25 ไร

                                   -  พื้นที่แหลงน้ํากรอยหรือน้ําเค็มใหคาเนื้อที่ตามลักษณะของลําน้ําที่ไหลลงสูทะเลตาม
                     ขนาดความยาวและความกวางของลําน้ํานั้น ๆ ในแตละภาคโดยภาคตะวันออก  แมน้ําบางปะกงมีพื้นที่

                     ลุมน้ํามากสุดและเปนลําน้ํายาวที่สุด  ที่เหลือเปนลําน้ําสายสั้น ๆ ใหคาพื้นที่น้ํากรอยหรือน้ําเค็มเทากับ 4%

                     ของเนื้อที่แมน้ําลําคลอง   ภาคกลางลําน้ําที่ไหลลงสูทะเลเปนลําน้ําสายยาวและพื้นที่ลุมน้ํามีขนาดใหญ
                     เชน  แมน้ําเจาพระยา  แมกลอง  และทาจีน  ใหคาพื้นที่น้ํากรอยหรือน้ําเค็มเทากับ  2% ของเนื้อที่แมน้ํา

                     ลําคลอง  ภาคใตสวนใหญเปนแมน้ําสายสั้น ๆ จึงมีพื้นที่ลุมน้ําไมมาก  น้ําทะเลเขามาในลําน้ําไดงาย

                     โดยเฉพาะในชวงฤดูแลง  ใหคาพื้นที่น้ํากรอยหรือน้ําเค็มเทากับ 4% ของพื้นที่แมน้ําลําคลองรวมกับ

                     พื้นที่น้ํากรอยของทะเลสาบสงขลาซึ่งประเมินวามีพื้นที่น้ํากรอยเฉลี่ยประมาณ  0.15  ลานไร
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31