Page 4 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 4

สรุปรายงานสําหรับผูบริหาร


                         สืบเนื่องจากปญหาประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดในชวงระยะเวลาที่ผานมา  เปนผลให

                  รัฐบาลตองเขามาแกไขปญหาทุกป  ทั้งนี้สวนหนึ่งเกิดจากรัฐบาลขาดขอมูลดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                  ฤดูฝนที่มีความถูกตอง   ทั้งดานพื้นที่ปลูกและจํานวนผลผลิตรวมกอนที่ผลผลิตจํานวนมากจะออกสูตลาด
                  เพื่อใหมีการวางแผนการผลิตการตลาดที่เหมาะสมและเปนการลดปญหาดังกลาว   กรมพัฒนาที่ดินจึงใช

                  เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่ง  และระบบสารสนเทศภูมิศาสตรในการวิเคราะหสํารวจพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                  ฤดูฝนและประเมินผลผลิตรวม   ซึ่งจะสามารถดําเนินการไดในเวลารวดเร็วและเสร็จทันกอนผลผลิต

                  จะออกสูตลาด  การดําเนินการเริ่มขึ้นในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548  และสิ้นสุดเดือนสิงหาคมคม พ.ศ. 2548

                  แบงการทํางานออกเปน 3  ขั้นตอนดังนี้
                         1.  นําขอมูลจากดาวเทียม Landsat - 5 ( TM ) ที่บันทึกในชวงเวลาเดียวกับฤดูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                   ฤดูฝนของเกษตรกรมาแสดงผลภาพ  เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน  จํานวน  37  ภาพ

                   ( scenes )  ครอบคลุม 37 จังหวัด  ไดพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนทั้ง 4 ภูมิภาค  รวมทั้งสิ้น

                   6,493,048 ไร  โดยที่ภาคเหนือ  มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุด  คือ  3,938,843 ไร  หรือรอยละ 60.66 ของ
                   พื้นที่ปลูกทั้งหมด  รองลงมาคือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  1,325,235  ไร  หรือรอยละ 20.41

                   ภาคกลาง  966,441 ไร  หรือรอยละ 14.88 และภาคตะวันออก  262,529 ไร หรือรอยละ 4.04
                   เมื่อเปรียบเทียบกับปการผลิตป 2547 พบวามีพื้นที่ปลูกลดลงรอยละ 7.83

                         2.   สงทีมงานสํารวจจากสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 2   กรมพัฒนาที่ดิน   เพื่อ

                  รวบรวมชนิดพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนและผลผลิตเฉลี่ย   เปนรายตําบลไดทั้งหมด 9.455
                  ตัวอยาง   โดยพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรนิยมปลูกมากที่สุด   ไดแก   พันธุซีพี.ดีเค.888,

                  คารกิลล 919,  บิ๊ก 717 และแปซิฟค 984  แลวนําขอมูลจากแบบสอบถาม  มาคํานวณทางสถิติ  เพื่อ

                  หาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล   ผลการวิเคราะหไดผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ  700   กก./ไร   โดย

                  ภาคเหนือมีผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด  714  กก./ไร
                         3.  ใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรวิเคราะหและประมวลผล  จากขอมูลที่ไดจากขอ 1. และขอ 2. ได

                  ผลผลิตรวมทั้งประเทศทั้งสิ้น 4,547,991   ตัน   มูลคารวม 17,621.89   ลานบาท  ภาคเหนือได

                  ผลผลิตรวมมากที่สุด   คือ  2,813,965    ตัน   หรือรอยละ  61.87   ของผลผลิตทั้งหมด   มูลคารวม

                  10,726.15  ลานบาท  รองลงมาคือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  890,446  ตัน  หรือรอยละ  15.98  ของ
                  ผลผลิตทั้งหมด  มูลคารวม  3,617.28  ลานบาท ภาคกลาง  685,186  ตัน  หรือรอยละ  15.07  ของผลผลิต

                  ทั้งหมด  มูลคารวม  2,784.61  ลานบาท และภาคตะวันออก  158,393  ตัน หรือรอยละ  3.48  ของผลผลิต

                  ทั้งหมด  มูลคารวม  493.85  ลานบาท
   1   2   3   4   5   6   7   8   9