Page 3 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 3

บทนํา


                         ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่มีความสําคัญตออุตสาหกรรมอาหารสัตวของประเทศไทย

                  เนื่องจากใชเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว  ในป 2548  ประเทศไทยสงออกผลิตภัณฑขาวโพด

                  เลี้ยงสัตวมีมูลคาการสงออก 4,651.50 ลานบาท และในป 2548 มีมูลคาการสงออก 191.47  ลานบาท
                  ณ เดือนมิถุนายน 2548  ซึ่งมูลคาการสงออกลดลงจากเดิม 4,460.03  ลานบาท (สํานักงานเศรษฐกิจและ

                  การเกษตร, 2548)  จากการสํารวจโดยกรมพัฒนาที่ดินโดยใชเทคโนโลยีดานรีโมทเซนซิ่งและระบบ

                  สารสนเทศภูมิศาสตร   ประกอบกับการสํารวจขอมูลภาคสนาม  ในป 2548  มีพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน

                  ประมาณ 7.04 ลานไร สามารถผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไดประมาณ 5.64 ลานตัน และในป 2548 มีพื้นที่ปลูก

                  ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ประมาณ  6.49 ลานไร    สามารถผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไดประมาณ 4.54 ลานตัน
                  ซึ่งพบวาพื้นที่ปลูกลดลงจากเดิม 0.55 ลานไร จะเห็นไดวาผลผลิตและระยะเวลาที่ขาวโพดเลี้ยงสัตวออกสู

                  ตลาดเปนสวนสําคัญในเรื่องการตลาด การกําหนดแผนการตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตว    กลาวคือ ราคา

                  ผลผลิตมักจะตกต่ําในชวงตนฤดูเก็บเกี่ยวที่ผลผลิตออกสูตลาดพรอมกันจํานวนมาก และจะปรับตัวสูงขึ้น

                  ในชวงปลายฤดู  รัฐจําเปนตองเขาไปดูแลเพื่อยกระดับราคาใหสูงขึ้น ดังนั้นจึงตองมีการประเมินผลผลิตที่
                  แมนยํา เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับผูบริหารในการจัดการดานการตลาดและการผลิต โดยที่สามารถแกไข

                  ปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรได

                         เอกสารฉบับนี้     ไดนําเสนอวิธีการสํารวจพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนเพื่อประเมินผลผลิต

                  สําหรับปการผลิต 2548  ในพื้นที่ 37  จังหวัด  โดยใชเทคโนโลยีดานรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศ
                  ภูมิศาสตร   ประกอบกับการสํารวจขอมูลภาคสนาม   ซึ่งเปนวิธีการที่สามารถวิเคราะหพื้นที่ปลูกและ

                  คาดคะเนผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนไดอยางรวดเร็วและแมนยํา

                         การดําเนินงานครั้งนี้ไดนําขอมูลจากดาวเทียม Landsat – 5 (TM) จากสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยี

                  อวกาศและภูมิสารสนเทศ   ขอมูลบางสวนจากกรมสงเสริมการเกษตร  สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

                  และความรวมมือจากเจาหนาที่สวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 2    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช
                  ที่ดิน   ในการสํารวจขอมูลภาคสนามและการวิเคราะหขอมูลในสํานักงาน  จนทําใหการดําเนินงาน

                  สําเร็จดวยดีภายในระยะเวลาที่กําหนด  จึงใครขอขอบคุณผูรวมดําเนินงานทุกคนไว  ณ  ที่นี้






                                                                            นายอรรถ   สมราง

                                                                             อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
   1   2   3   4   5   6   7   8