Page 4 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปี 2548
P. 4

รายงานฉบับผูบริหาร


                      ถั่วเหลืองเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย  ซึ่งใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมที่สําคัญ

               หลายอยางของประเทศ  ปจจุบันผลผลิตถั่วเหลืองภายในประเทศไมเพียงพอ  และในแตละปรัฐตองอนุญาตให

               มีการนําเขาถั่วเหลืองเปนปริมาณมาก  ในป  พ.ศ. 2547 ประเทศไทยนําเขาผลิตภัณฑถั่วเหลืองแยกเปนผลผลิต
               ของเมล็ดถั่วเหลือง  1.436  ลานตัน  และกากถั่วเหลืองประมาณ 1.262 ลานตัน  ( สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,

               2548)  ดังนั้น เพื่อไมใหมีการนําเขาถั่วเหลืองมากเกินความตองการของตลาด ซึ่งจะสงผลใหราคาผลผลิต

               ถั่วเหลืองในประเทศลดต่ําลง  ประเทศไทยจึงจําเปนตองมีฐานขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่ปลูก  ผลผลิต และแหลง

               อุตสาหกรรมถั่วเหลืองในประเทศที่ถูกตอง  เพื่อใชเปนเครื่องมือในการกําหนดนโยบายดานการผลิตและ

               การตลาด   ผลจากการดําเนินโครงการการใชเทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
               เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิตถั่วเหลืองใน  ป  พ.ศ.2548  สามารถใชเปนขอมูลภาพรวมของการ

               ผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยไดระดับหนึ่ง

                      จากการวิเคราะหพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง (ปลูกระหวางเดือนพฤศจิกายน 2547  ถึง  เมษายน 2548)

               ทั้งประเทศโดยใชขอมูลจากดาวเทียม Landsat – 5 (ระบบ Thematic Mapper : TM)  รวมกับการตรวจสอบ
               ภาคสนาม พบวาในป พ.ศ. 2548  มีพื้นที่ปลูกครอบคลุม  26 จังหวัด  แหลงผลิตถั่วเหลืองที่สําคัญของไทยอยูใน

               3 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น 657,869 ไร เพิ่มขึ้นจาก

               ปการผลิต 2547  รอยละ 43.32  เปนพื้นที่ในเขตชลประทาน  218,215  ไร  นอกเขตชลประทาน  439,654 ไร

               โดยภาคเหนือมีเนื้อที่ปลูกรอยละ 64.14  ของเนื้อที่เพาะปลูกทั้งประเทศ  โดยจังหวัดแพรมีเนื้อที่ปลูก
               มากที่สุด  จํานวน 91,693ไร   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ปลูกรอยละ 35.74  ทั้งนี้ โดยปกติในภาคเหนือ

               เกษตรกรจะทําการเพาะปลูกทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง  ภาคตะวันอออกเฉียงเหนือจะเพาะปลูกในฤดูแลง  สวนภาค

               กลางมีพื้นที่ปลูกที่จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่  735  ไร  และไดผลผลิตเฉลี่ยสูงกวาภาคอื่น ๆ  คือ  371  กก.ตอไร
                      จากขอมูลภาคสนาม  นํามาวิเคราะหหาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล  เพื่อประเมินผลผลิตถั่วเหลือง

               ไดผลผลิตรวมทั้งสิ้น 166,675.49 ตัน  โดยมีผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ 253  กก.ตอไร  พันธุที่นิยมปลูก

               มากที่สุด  คือ  พันธุเชียงใหม 60 พันธุอื่นๆ นอกจากนี้ปลูกไมมากนัก ไดแก พันธุ เชียงใหม 2 , สจ.4 ,

               สจ.5 สุโขทัย 1 , สุโขทัย 2 , ราชมงคล และตาแดง   เปนตน  พื้นที่ปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแลง

               จําแนกตามรายภาคไดดังนี้
                      1. ภาคเหนือ  มีเนื้อที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงในพื้นที่ 16  จังหวัด  จํานวน 421,908  ไร  หรือรอยละ

               64.14  ของพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองทั้งประเทศ    เพิ่มขึ้นจากปการผลิต 2547  รอยละ 54.32   เปนพื้นที่ในเขต

               ชลประทาน 187,356  ไร นอกเขตชลประทาน  234,552  ไร  ไดผลผลิตรวม 105,397.82 ตัน  ผลผลิตเฉลี่ย

               ทั้งภาค  250 กก.ตอไร  ถือเปนแหลงผลิตถั่วเหลืองรายใหญที่สุดของประเทศ  โดยจังหวัดแพร  มีเนื้อที่

               ปลูกมากที่สุด  91,693 ไร   และมีผลผลิต  21,741.13  ตัน  พันธุที่นิยมปลูกมาก  คือ  พันธุเชียงใหม 60
   1   2   3   4   5   6   7   8   9