Page 20 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2548
P. 20

5


                                            -  แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล

                                            -  แผนที่เสนทางคมนาคม

                                            -  พิกัดของจุดตรวจสอบขอมูลจากภาคสนาม ( แบบสอบถาม )

                                               -  แผนที่กลุมชุดดิน
                                            -  แผนที่จําแนกความเหมาะสมของดิน  สําหรับออยโรงงาน

                                        4.2  ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ    เปนการกําหนดคุณลักษณะของแผนที่นําเขา

                         แตละประเภทขอมูล  จากนั้นสรางความสัมพันธระหวางฐานขอมูลทั้งสอง    เพื่อเตรียมความพรอม

                         ในการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป

                                5)  จัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูก  จากฐานขอมูล  สามารถนํามาวิเคราะหหาพื้นที่ปลูก
                         ออยโรงงาน  พรอมทั้งแสดงรายละเอียดเปนรายตําบลของทุกจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูก



                      10.  ผลการดําเนินงาน


                         10.1  ฤดูการผลิตออยโรงงาน

                         การปลูกออยโรงงานในปจจุบัน  สามารถแบงตามฤดูการปลูกไดเปน  2  ฤดู  คือ  การปลูกออยโรง
                  งานตนฤดูฝน  และการปลูกออยโรงงานปลายฤดูฝน ( ออยขามแลง )

                         10.1.1  การปลูกออยโรงงานตนฤดูฝน  แบงออกเปน  2  เขต  คือ

                                -   ในเขตชลประทาน  สวนใหญจะปลูกในชวงเดือนกุมภาพันธ – เมษายน

                                -  ในเขตอาศัยน้ําฝน  สวนใหญจะปลูกในชวงเดือนเมษายน – มิถุนายน  พื้นที่ปลูกออย
                  สวนใหญของประเทศไทยจะเปนประเภทนี้  และเปนพื้นที่ที่มีความแปรปรวนในเรื่องผลผลิตสูง   ผลผลิต

                  เฉลี่ยของออยต่ํากวา  10  ตันตอไร  สาเหตุหลักคือ  ปริมาณและการกระจายตัวของฝนไมดี  ดินสวนใหญมี

                  ความอุดมสมบูรณต่ํา  การใสปุยจะมีความเสี่ยงสูง  และหาชวงเวลาเหมาะสมการใสปุยใหมีประสิทธิภาพ

                  สูงยาก
                         10.1.2  การปลูกออยปลายฝน  ( การปลูกออยขามแลง ) เปนการปลูกออยโดยอาศัยความชื้นใน

                  ดินชวงปลายฝน  ประมาณกลางเดือนตุลาคม – ธันวาคม  เปนการปลูกเพื่อใหออยเจริญเติบโตอยางชาๆ

                  จนกวาออยจะไดรับน้ําฝนตนฤดู   เปนวิธีการปลูกออยที่ใชไดผลในเขตปลูกออยอาศัยน้ําฝนบางพื้นที่ที่ดิน

                  เปนดินทราย  หรือรวนปนทราย   และตองมีปริมาณน้ําฝนไมต่ํากวา  1,200   มิลลิเมตรตอป  และมีการ

                  กระจายตัวดีโดยเฉพาะชวงตนฤดู ( กุมภาพันธ – เมษายน )  จะตองมีปริมาณฝนที่เพียงพอกับการเจริญ
                  เติบโตของออยในชวงแรก การปลูกออยปลายฤดูฝนนี้สามารถปลูกไดเฉพาะในบางพื้นที่ของภาคตะวันออก

                  เฉียงเหนือตอนบน เชน จังหวัดอุดรธานี  ขอนแกน  และหนองบัวลําภู  เปนตน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25