Page 19 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2548
P. 19
4
- ขอมูลสถิติการเกษตร จากกรมสงเสริมการเกษตร และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ป พ.ศ.2545 - 2547
- ขอมูลเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย จากกรมวิชาการเกษตร และกรมสงเสริม
การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ และขอมูลอื่นๆที่เกี่ยวของ จากสํานักงานออยและ
น้ําตาลทราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม และกรมสงเสริมการสงออก
9.3 ขั้นตอนการดําเนินงาน
1) รวบรวมและตรวจสอบเอกสาร เอกสารและขอมูลตางๆทั้งในรูปรายงานและแผนที่
ที่เกี่ยวของ ขอมูลสถิติของพื้นที่ปลูกและผลผลิตจะไดรับการตรวจสอบ เพื่อนําขอมูลดังกลาวมา
กําหนดแผนการดําเนินการ ทั้งพื้นที่สํารวจและวิธีการ รวมทั้งระยะเวลาดําเนินการทั้งโครงการ
2) การเตรียมขอมูลจากดาวเทียม
2.1 การแกไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต ( Geometric Correction )
2.2 การเนนภาพ ( Image Enhancement )
2.3 การผลิตภาพชวงคลื่นผสมจากขอมูลดาวเทียม เพื่อการวิเคราะหพื้นที่
เพาะปลูกในภาคสนาม โดยใชภาพผสมสีเท็จ 4R – 5G – 3B
3) การสํารวจและวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
3.1 วิเคราะหขอมูลดาวเทียม เพื่อจําแนกพื้นที่ปลูกออยโรงงาน ในระดับตําบล
อําเภอ และจังหวัด ครอบคลุมพื้นที่ปลูกทั้งหมด และจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
โดยการแปลจากภาพถายดาวเทียมดวยสายตา เพื่อใชตรวจสอบในภาคสนาม
3.2 การสํารวจภาคสนาม เพื่อตรวจสอบการแปลภาพจากขอมูลดาวเทียม
จําแนกพื้นที่ปลูกออยโรงงาน และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการปลูก เชน ขนาดพื้นที่ พันธุออย
ผลผลิตเฉลี่ยตอไร ระยะเวลาเก็บเกี่ยว การจัดการดูแลรักษา ราคาที่เกษตรกรขายได ฯลฯ ทั้งนี้
โดยใชเครื่องอานพิกัดทางภูมิศาสตร ( GPS ) บอกตําแหนงจุดตรวจสอบแตละจุดไดอยางแมนยํา
ซึ่งสามารถอางอิงไดกับแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1 : 50,000
3.3 การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกออยโรงงานรายตําบลของแตละจังหวัด
4) สรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS database ) โดยการนําเขาขอมูล
ทั้งในรูปแผนที่ จุดพิกัด พรอมคุณลักษณะของจุดตรวจสอบจากภาคสนาม เพื่อสรางฐานขอมูล
ในการวิเคราะหพื้นที่ปลูก พื้นที่ความเหมาะสมของดิน กลุมชุดดิน และประเมินผลผลิตดวย
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS ) ดังนี้
4.1 ฐานขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial data ) ประกอบดวย
- แผนที่พื้นที่ปลูกออยโรงงานรายตําบลของแตละจังหวัดทั้ง 47 จังหวัด
- แผนที่แสดงเขตชลประทาน