Page 136 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 136

4-21








                       เกือบทั้งหมดยกเวนคาภาษีที่ดิน 2.12 บาทตอไร  และในจํานวนตนทุนผันแปรนั้นคาวัสดุการเกษตร
                       มีมูลคานอยกวาคาแรงงานเกินกวา 1 เทา ในรายละเอียดของการใชแรงงานนั้นสวนใหญเปนแรงงานคน

                       มากกวาแรงงานเครื่องจักร โดยที่เปนแรงงานในครัวเรือนมากกวาแรงงานจางประมาณ 2 เทา เกษตรกร

                       ไดรับผลผลิต 1,388.89 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิตเฉลี่ยภาค  10.00 บาทตอกิโลกรัม
                       เกษตรกรจึงมีรายไดหรือไดรับมูลคาผลผลิต 13,888.90 บาทตอไร โดยมีผลตอบแทนเหนือตนทุน

                       เงินสด 8,236.34 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุน

                       ทั้งหมด 4,900.95 และ 3,369.66 บาทตอไร ตนทุนทั้งหมดของการผลิตเงาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                       เฉลี่ยตอกิโลกรัมเทากับ 7.57 บาท ซึ่งต่ํากวาราคาที่เกษตรกรไดรับ เกษตรกรจึงไดรับผลกําไร

                       จากการผลิตเงาะ (ตารางที่ 4-13 และตารางที่ 4-14)

                                       ภาคตะวันออก เงาะที่ปลูกในภาคตะวันออกมีตนทุนทั้งหมดไรละ 5,753.43 บาท

                       จําแนกเปนตนทุนผันแปรไรละ 5,014.55 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 738.88 บาท หรือประมาณ
                       รอยละ 87 และ 13  ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 4,118.60 บาท

                       และไมเปนเงินสดไรละ 1,634.83 บาท หรือประมาณรอยละ 72 และ 28 ของตนทุนทั้งหมด

                       ตามลําดับ ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสดนั้นเปนตนทุนผันแปรสูงถึงรอยละ 99.74  และในจํานวน
                       ตนทุนผันแปรนั้นคาวัสดุการเกษตรมีมูลคามากกวาคาแรงงานเพียง 88 บาทตอไร เกษตรกร

                       ไดรับผลผลิตเฉลี่ยทุกชวงอายุ 871.49 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิตเฉลี่ยภาค 9.30 บาทตอกิโลกรัม

                       เกษตรกรจึงมีรายไดหรือไดรับมูลคาผลผลิต 8,104.86 บาทตอไร โดยมีผลตอบแทนเหนือตนทุน

                       เงินสด 3,986.26 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุน
                       ทั้งหมด 3,090.31 และ 2,351.43 บาทตอไร  ตนทุนทั้งหมดของการผลิตเงาะภาคตะวันออกเฉลี่ย

                       ตอกิโลกรัมเทากับ 6.60 บาท ซึ่งต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ ดังนั้นเกษตรกรภาคตะวันออก

                       จึงยังมีกําไรจากการผลิตเงาะ (ตารางที่ 4-14 และตารางที่ 4-15) เมื่อพิจารณาตามชวงอายุเงาะ พบวา
                       ประมาณรอยละ 39  ของตนทุนทั้งหมดในปที่ 1 เปนตนทุนคงที่ซึ่งไดแกคาอุปกรณการเกษตร

                       เปนสวนใหญ อันเปนอุปกรณหรือทรัพยสินที่เกี่ยวกับระบบการใหน้ํา สําหรับคาแรงงานนั้น มีสัดสวน

                       ประมาณครึ่งหนึ่งของตนทุนผันแปร ลําดับรองลงมาเปน คาวัสดุการเกษตรมีมูลคาประมาณรอยละ 27
                       ตามลําดับ  เงาะชวงอายุที่เหลือนอกจากชวงอายุ 4-10 ปแลวจะมีสัดสวนของคาแรงงานนอยกวา

                       คาวัสดุการเกษตร  ชวงอายุ 2-3 ป เงาะในภาคตะวันออกมีคาวัสดุการเกษตรเพียงรอยละ 12  ขณะที่

                       คาแรงงานกลับมีมูลคามากกวาวัสดุการเกษตรประมาณ 3 เทาโดยมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 49 ของตนทุน
                       ทั้งหมด  เงาะอายุ 11-20  ปมีคาวัสดุการเกษตรนอยกวาคาแรงงานประมาณ 340 บาทตอไร หรือ

                       คิดเปนประมาณรอยละ 38 และ 42 ของตนทุนทั้งหมด ตามลําดับ เงาะปที่ 1 และปที่ 2-3 ยังไมให

                       ผลผลิต เกษตรกรผูปลูกเงาะใน 2 ชวงอายุนี้จึงยังไมมีรายไดคงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว  เกษตรกร





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141