Page 103 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 103

4-2








                       ตนทุนสูงขึ้นหรือราคาผลผลิตตกต่ําลง เกษตรกรจะไดเตรียมทางออกหรือการตัดสินใจในแตละกรณีได
                       ซึ่งเทากับเปนการเตรียมการแกไขปญหาในระยะยาวอยางชัดเจน

                                การศึกษาขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะหหาตนทุนและผลตอบแทนของการผลิตลิ้นจี่ในครั้งนี้

                       ไดทําการสํารวจขอมูลจากเกษตรกรตัวอยางผูปลูกลิ้นจี่ในกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง
                       และกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง ในปการเพาะปลูก 2547/48 ในการวิเคราะหขอมูล

                       ทั้งในสวนของผลผลิตและราคาเสมือนกับเปนสวนลิ้นจี่แปลงเดียวกันตลอดชวงระยะเวลาของ

                       การลงทุนโครงการ เพื่อนํามาหาคาเฉลี่ย ซึ่งอาจจะไมสอดคลองกับสภาพความเปนจริงในทางการปฏิบัติ
                       แตดวยสภาพเงื่อนไขของการศึกษาในครั้งนี้ที่จํากัดดวยระยะเวลาจึงทําใหสามารถดําเนินการ

                       เทาที่เปนไปไดแตขอมูลใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด ในการวิเคราะหขอมูลตนทุนและผลตอบแทน

                       ในครั้งนี้ไดแยกวิเคราะหขอมูลของลิ้นจี่ไวเปนรายพันธุ ตามสภาพพื้นที่เพาะปลูกและความนิยม
                       ของเกษตรกร โดยไดแยกวิเคราะหไวเปน 3 พันธุ ไดแก พันธุฮงฮวย พันธุจักรพรรดิ์ และพันธุคอม

                       ซึ่งไดทําการวิเคราะหขอมูลในแตละชวงอายุของการผลิตลิ้นจี่

                                เนื่องจากลิ้นจี่เปนไมผลที่มีอายุการผลิตเกิน 1 ป และมีอายุการเก็บเกี่ยวผลผลิตหลายป

                       ดังนั้นการวิเคราะหจึงตองนํามาวิเคราะหตามหลักเกณฑการประเมินโครงการเพื่อเปนแนวทาง
                       ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนและผลตอบแทน โดยใชหลักการหามูลคาปจจุบันสุทธิ

                       (Net Present Value : NPV)  โดยใชอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.5 ซึ่งเปนอัตราดอกเบี้ยเงินกูในป

                       ดําเนินการเปนอัตราคิดลด (Discount Rate) แลวหาคาผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยตอปดวยการปรับจากคาของ

                       มูลคาปจจุบันของตนทุนและผลตอบแทนดวยตัวกอบกูทุน (Capital Recovery Factor : CRF)
                       ที่อัตราดอกเบี้ยเทากับอัตราที่ใชในการคํานวณหามูลคาปจจุบัน (NPV)  และระยะเวลาเทากับ

                       จํานวนอายุพืชแตละพันธุ (ป) ทั้งนี้ เพื่อนํามาเปรียบเทียบผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจซึ่งจะเปน

                       แนวทางใหเกษตรกรใชเปนทางเลือกที่จะปลูกพืชตอไปในอนาคต โดยสามารถที่จะเปรียบเทียบ
                       ผลตอบแทนของลิ้นจี่กับพืชชนิดอื่นในรอบการผลิต 1 ปได

                                จากการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนของการปลูกลิ้นจี่เปนรายพันธุในแตละชวงอายุ

                       พอสรุปผลการวิเคราะห ไดดังนี้


                                4.1.1 ลิ้นจี่ พันธุฮงฮวย


                                            ลิ้นจี่ พันธุฮงฮวย ปที่ 1  จากผลการศึกษา พบวา ลิ้นจี่ที่เพาะปลูกเปนปแรก

                       จะยังไมไดรับผลผลิต  ดังนั้น  ตนทุนจะเปนเพียงคาใชจายในการลงทุนเพียงอยางเดียว  กลาวคือ

                       ตนทุนทั้งหมด 4,600.50  บาทตอไร  ประกอบดวยตนทุนผันแปร 3,511.06  บาทตอไร  และตนทุน
                       คงที่ 1,089.44 บาทตอไร หากพิจารณาแยกเปนตนทุนที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด พบวา เกษตรกร



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108