Page 27 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
P. 27

2-11






                       2.3    ทรัพยากรดิน


                              ทรัพยากรดินและที่ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอมวลชีวิตทั้งในดาน
                       การดํารงชีพและความมั่งคั่งของมนุษยตลอดทั้งความคงอยูของระบบนิเวศทั้งหลาย แตทรัพยากรดิน

                       เปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เสื่อมโทรมไดงาย และมีความแปรผันไปตามลักษณะพื้นที่

                       สภาพภูมิอากาศ วัตถุตนกําเนิดดิน สิ่งมีชีวิต และระยะเวลาในการพัฒนาการเกิดของดิน ทําใหที่ดิน

                       ในแตละแหงมีความเหมาะสมตอการใชประโยชนที่แตกตางกัน ดังนั้นเพื่อความเขาใจตอทรัพยากรดิน
                       และที่ดินไดงายขึ้น กรมพัฒนาที่ดินจึงไดจัดทําแผนที่กลุมชุดดินระดับจังหวัดขนาดมาตราสวน

                       1:50,000  ขึ้นมาทั่วประเทศ ซึ่งเปนการรวมลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินที่มีศักยภาพในการใช

                       ประโยชนที่ดินคลายคลึงกันมารวมอยูดวยกัน สามารถจําแนกออกได 62 กลุมชุดดิน นอกจากนี้
                       ยังไดแบงกลุมชุดดินออกเปนกลุมชุดดินยอย โดยใชลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินหรือ

                       สภาพแวดลอมที่เปนขอจํากัดหรือมีผลกระทบตอการใชประโยชนที่ดิน การเจริญเติบโตและ

                       ผลผลิตของพืช

                              ลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินที่นํามาใชแบงกลุมชุดดิน ไดแก ความชื้นในดิน เนื้อดิน
                       ปฏิกิริยาดิน การระบายน้ําของดิน ความลึกของดินถึงชั้นที่มีกอนกรวด เศษหินมาก ชั้นปูนหรือ

                       มารล และชั้นหินพื้น วัตถุกําเนิดดิน การใชประโยชนที่ดิน และความลาดชันของพื้นที่ เปนตน

                       สวนลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินหรือสภาพแวดลอมที่นํามาใชแบงกลุมชุดดินออกเปน
                       กลุมชุดดินยอย ไดแก ชั้นความลาดชันของพื้นที่ สภาพการใชประโยชนที่ดิน อันตรายจากการถูก

                       น้ําทวม ความเปนกรดจัดรุนแรงของดิน การมีคราบเกลือปรากฏอยูบนผิวดิน และลักษณะอื่นๆ

                       ที่คาดวามีผลตอการใชประโยชนที่ดิน
                              การจัดหมวดหมูลักษณะและสมบัติดินที่มีศักยภาพคลายคลึงกันในดานที่มีผลตอ

                       การเจริญเติบโตและใหผลผลิตของพืชที่ปลูก จัดหมวดหมูได 62 กลุมชุดดิน โดยแบงตามสภาพ

                       ที่พบไดเปน 4 กลุมใหญ (ตารางที่ 2-2) ดังนี้
                                 1) กลุมชุดดินในพื้นที่ลุมหรือพื้นที่น้ําขัง

                                     เปนกลุมชุดดินที่มีน้ําแชขังหรือมีระดับน้ําใตดินตื้น ทําใหดินมีการระบายน้ําเลวมาก

                       ถึงคอนขางเลว พบทุกภาคมีอยู 28 กลุมชุดดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 – 25 และกลุมชุดดินที่ 57 – 59

                                 2) กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินแหง
                                     เปนกลุมชุดดินที่ไมมีน้ําแชขังและมีระดับน้ําใตดินลึก ทําใหมีการระบายน้ํา

                       คอนขางดีถึงคอนขางมาก  พบใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง มีอยู 22

                       กลุมชุดดินไดแก กลุมชุดดินที่ 28, 29, 30, 31, 33, 35, 36, 37, 38, 40, 41, 44, 46, 47, 48, 49, 52, 54,

                       55, 56, 60 และ 61



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม                                                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32