Page 15 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
P. 15
1-3
2) ขอมูลทุติยภูมิ รวบรวมขอมูลจากบันทึก เอกสาร รายงานและผลงาน
การศึกษาจากหนวยงานที่เกี่ยวของ
1.3.3 การนําเขาและวิเคราะหขอมูล
การนําเขาและวิเคราะหขอมูลเฉพาะดาน นําเขาขอมูลเชิงอรรถาธิบายและ
ขอมูลเชิงพื้นที่ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ อาทิเชน Microsoft Word, Microsoft Excel,
Cropwat, ALES, SPSS, Arc/Info และ Arc View เปนตน โดยทําการศึกษาและวิเคราะห ดังนี้
1) ศึกษาและวิเคราะหการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจมะขามในสภาพปจจุบัน
โดยการวิเคราะหแปลตีความจากภาพถายทางอากาศสีและภาพถายดาวเทียม Land sat เพื่อจัดทําเปน
แผนที่การใชที่ดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจมะขาม
2) วิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจมะขามจากรายงาน
ความเหมาะสมของพืชเศรษฐกิจ โดยศึกษารวมกับการใชที่ดินและการจัดการพื้นที่
3) วิเคราะหพื้นที่เปาหมายในการผลิตใหสอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตร
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
4) การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ
4.1) วิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจในรูปบาทตอไรของมูลคาผลผลิต(รายได)
ตนทุนการผลิตและผลตอบแทนจากการผลิตตามชนิด พันธุและชวงปที่ผลิต รวมทั้งวิเคราะหหา
มูลคาปจจุบันของตนทุนและผลตอบแทนตลอดจนระยะเวลาคืนทุนตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
ทางกายภาพซึ่งไดกําหนดไว 3 ระดับ ทดสอบความแตกตางกันของผลผลิตเฉลี่ยดวยวิธีการทางสถิติ
t-test และวิเคราะหความแปรปรวนของผลผลิตเฉลี่ยดวยสถิติ Oneway-ANOVA ประมวลผลขอมูล
ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel
4.2) ประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากขอมูลการผลิตในปการผลิต
2547/48 และขอมูลการผลิตยอนหลังตามชวงอายุที่กําหนด โดยนําวิธีการของ FAO Framework
(1983) ประยุกตใชกับวิธีการทางสถิติประเมินความเหมาะสมทางเศรษฐกิจรวมกับขอมูลเชิงพื้นที่
เพื่อคัดเลือกพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพสัมพันธกับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ
1.3.4 การกําหนดเขตการปลูกพืชเศรษฐกิจมะขาม
นําพื้นที่เพื่อการเกษตรประมาณ 165,189,818 ลานไร จากรายงานความเหมาะสม
ของพืชเศรษฐกิจมาวิเคราะหรวมกับแผนที่ความเหมาะสมของพืชเศรษฐกิจมะขาม การใชที่ดิน
ปจจุบันขอมูลผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และนโยบายตางๆ
1.3.5 จัดทํารายงานและแผนที่
จัดทํารายงานและแผนที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน