Page 68 - ถอดบทเรียนแนวทางการผลิตที่เป็นเลิศ 21 ชนิดพืช : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 68

หຌองสมุดกรมพัฒนาทีไดิน
                                                                                                           53





                  บทสรุปหรือสาระสําคัญที ได้จากการเรื องเล่านี คืออะไร

                  ให้ใส่รายละเอียดดังตารางนี





                                                                                            หมายเ
                       ขั้นตอน                          วิธีเกษตรกร
                                                                                              หตุ

                    พันธุ          พันธุ ภูเก็ต

                                   เพื่อให สับปะรดภูเก็ตเจริญเติบโตดีและได ผลผลิตที่มีคุณภาพ จึงต องมีการเตรียมพื้นที่อย างดีซึ่งในส วนของการ
                    การเตรียมดิน   เตรียมพื้นที่ เริ่มจากไถด วยผานสาม 2 ครั้ง แล วไถด วยผานเจ็ด อีก 1 ครั้ง ถ าพื้นที่ไม สมํ่าเสมอก็อาจมีการไถปรับ
                                   พื้นที่ด วยโดยขั้นตอนการเตรียมพื้นที่นั้นขึ้นอยู กับความเหมาะสมของแต ละพื้นที่ด วย

                                   ใช เหง าในการขยายพันธุ  หน อที่ใช ปลูกควรเป นหน อขนาดกลางและมีขนาดเท ากัน ซึ่งจะทาให ผลผลิตออกพร อมกัน
                    การเตรียมพันธุ
                                   การเตรียมหน อควรนามาผึ่งแดดโดยควํ่ายอดลงสู พื้นดินเพื่อฆ าเชื้อโรคชุบหน อด วยสารเคมีป องกันเชื้อโรค
                    ฤดูปลูก        ปลูกได ตลอดทั้งป

                                   สับปะรดภูเก็ตสามารถปลูกได ตลอดทั้งป  แต ต องมีการวางแผนการผลิตก อนปลูก โดยกําหนดเวลาที่ต องเก็บเกี่ยวไว
                                   ล วงหน าเพื่อให ได ผลผลิตออกสู ตลาดช วงที่มีราคาแพง ซึ่งการปลูกสับปะรดภูเก็ตมี 2 ประเภท คือ ปลูกสับปะรดภูเก็ต
                                   เป นพืชเดี่ยวและการปลูกสับปะรดภูเก็ตแซมสวนยางพารา โดยมีระยะการปลูก ดังนี้ปลูกเป นแถวเดี่ยว ระยะระหว าง
                                   ต น 25 - 30 ซม. ระยะแถว 50 - 60 ซม. ปลูกได  8,000 – 10,000 หน อต อไร  ปลูกเป นแถวคู  ใช ระยะห างระหว างต นและ
                                   แถว 40 X 40 ซม. เว นระยะระหว างร อง 120 ซม. ปลูกได  5,000 หน อต อไร การปลูกสับปะรดภูเก็ตแซมสวนยางพารา
                    วิธีการปลูก/ระยะปลูก
                                   1.ปลูกเป นแถวคู ห างจากแถวยางพารา 100 - 150 ซม. ระยะระหว างต น 40 - 50 ซม. ระยะห างระหว างแถว
                                   40 - 50 ซม. เว นระหว างร อง 100 - 120 ซม. ปลูกได จานวน 8 แถวต องใช หน อ 3,200 - 4,000 หน อต อไร
                                   2.ปลูกเป นแถวเดี่ยวห างจากแนวยางพารา 150 ซม. ระยะระหว างต นและแถว 40 X 40 ซม. ปลูกได  10 แถว ต องใช
                                   หน อ จํานวน 5,000 หน อต อไร  การปลูกควรปลูกในช วงหน าฝน ฝ งหน อให เอียง 45 องศา เพื่อป องกันนาขังในยอด
                                   ทําให ยอดเน าได แต ถ าปลูกในหน าแล งควรฝ งหน อให ตรง
                                   ครั้งที่ 1 หลังปลูก 1 - 2 เดือน ใส ปุ ยสูตร 21-0-0 อัตรา 10 - 15 กรัม
                                   ครั้งที่ 2 หลังปลูก 4 - 6 เดือน ใส ปุ ยโปแตสเซี่ยมคลอไรด
                                   ครั้งที่ 3 หลังบังคับดอก ประมาณ 3 เดือนใส ปุ ยโปแตสเซี่ยมคลอไรด  อัตรา 5 - 10 กรัมต อต น
                                   การเตรียมต นพันธ ุก อนใช ฮอร โมนและกระตุ นการออกดอก
                                   การที่จะให สับปะรดออกดอกพร อมกันตามที่ตลาดต องการจําเป นต องมีการบังคับดอกโดยใช สารเคมีเร งดังนี้
                    การให ปุ ย
                                   1. ใช สารเนฟธาลีนอาซิติคแอซิค (Nepthalene acetic acid ) ใช หยอดต นละ 1 เม็ด
                                   2. ใช สารเอททีฟอน (48 %) 8 มิลลิลิตรร วมกับยูเรีย 300 กรัม ผสมนํ้า 20 ลิตร หยอดยอดสับปะรดต นละ 60 - 70
                                   มิลลิลิตร หยอด 2 ครั้ง ห างกัน 5 - 7 วัน การบังคับการออกดอกควรทําในช วงเย็นหรือกลางคืนหากมีฝนตกลงมา
                                   ภายใน 2 ชั่วโมง หลังหยอดสารเคมีบังคับดอก ควรทําซํ้าภายใน 2  - 3 วัน ต นสับปะรดที่ทําการบังคับดอกต อง
                                   เป นต นที่สมบูรณ  โดยทั่วไปจะทําการบังคับการออกดอกหลังการปลูกประมาณ 8-10 เดือน
                    การให นํ้า     อาศัยนํ้าฝนตามธรรมชาติ
                                   การควบคุมกําจัดวัชพืชโรคและแมลง ในแปลงสับปะรดสามารถทําได หลายวิธี ตามความเหมาะสมซึ่งต องคํานึงถึง
                    การป องกันกําจัดวัชพืช  ความปลอดภัยของผู บริโภคและสภาพแวดล อม ถ าจําเป นต องใช  สารเคมีที่ใช มี 2 ชนิด ได แก  สารไดยูรอนอัตราการ
                                   ใช สารประมาณ 1 กิโลกรัมต อไร  หรือสารโปรมาแท็ก อัตราการใช  3 ช อนแกงต อนํ้า 200 ลิตร
                                   การเก็บเกี่ยวผลผลิตสับปะรดภูเก็ตเก็บเกี่ยวตามความต องการของตลาด หลังจากใช สารบังคับดอก 140-150 วัน
                    การเก็บเกี่ยว
                                   ตาสับปะรดจะขยายกว าง 2-3 ตา ควรเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อสับปะรดมีความสุกเหลืองประมาณ 1/4 - 2/3 ของผล
                                   การไว หน อพันธุ สับปะรดสามารถไว ตอได  1 - 2 ครั้งเมื่อเก็บเกี่ยวแล วควรใช มีดตัดต นสับปะรดระดับเหนือดิน 20 - 30
                                   เซนติเมตรและตัดใบให เหลือประมาณ 10 เซนติเมตร ใช ต นและใบสับปะรดคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นและป องกันการ
                    การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ
                                   งอกของวัชพืช ให ปุ ยและน าตามคาแนะนาหักหน ออากาศหรือหน อที่เกิดจากต นไปใช ขยายพันธุ เหลือเฉพาะหน อดินไว
                                   เป นต นตอ
                                   1. โรคเหี่ยวจากเพลี้ยแป ง เกิดจากการแพร กระจายของโรคเกิดจากการนําหน อหรือจุกจากต นที่เป นโรคไปปลูกซึ่งมี
                                   เพลี้ยแป งเป นพาหะนําโรค
                    โรค/แมลง       2. โรคผลแกร็น โรคนี้เป นโรคที่ทําความเสียหายกับผู ปลูกสับปะรดมาก
                                   3. โรคยอดเน าต นเน า เกิดจากเชื้อรา Phytophthoraparasitica เชื้อนี้สามารถเข าทําลายสับปะรดได ตั้งแต  หน อดิน
                                   หน อข าง จุกตะเกียง และส วนของลําต นคัดไว เพื่อใช ป กชําขยายพันธุ

                    ความลาดเทของที่ปลูก  มีความลาดชัน 1 - 12 %


                                   pH = 5.02, OM = 1.46%, Avil.P = 1.09 mg/kg,
                    ค าวิเคราะห ดิน
                                   Avil.K = 23.3 mg/kg, EC = 0.015 ds/m

                       ดินร่วนละเอียดลึกมาก ดินบนมีเนื อดินเป นดินร่วนปนทราย มีสีนํ าตาล ปฏิกิริยาดินเป นกรดจัดมาก
                   ถึงกรดปานกลาง (pH 4.5 - 6.0) ดินล่างมีเนื อดินเป นดินร่วนเหนียวปนทราย มีสีนํ าตาลปนเหลืองและ
                   ดินชั นล่างถัดไป อาจพบดินเหนียวปนทราย ปฏิกิริยาดินเป นกรดจัดมากถึงเป นกรดจัด (pH 4.5 - 5.5)
                   ตลอดหน้าตัดดิน
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73