Page 8 - การศึกษาการพัฒนาการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่เพื่อการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 8
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ฉ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
2.1 แปลงเกษตรกรตัวแทนในพื้นที่ศึกษาที่มีการจัดการตามหลักทฤษฎีใหม่จังหวัด 24
ขอนแก่น ชัยภูมิ และมุกดาหาร
2.2 เกณฑ์การให้คะแนนการทดสอบเสถียรภาพของดินโดยวิธี Aggregate stability 33
test
2.3 คำอธิบายลักษณะของซากพืชที่พบในแปลงศึกษา 36
2.4 ตัวอย่างการกำหนดช่วงระดับคะแนนจากอัตราการไหลการซึมของน้ำที่ได้ 38
2.5 คะแนนการประเมินการย่อยสลายของ substrate 39
3.1 ข้อมูลปริมาณฝนที่ใช้ได้จริง และศักยภาพการคายระเหยน้ำ พ.ศ. 2533 - 2562 55
จังหวัดขอนแก่น
3.2 ข้อมูลปริมาณฝนที่ใช้ได้จริง และศักยภาพการคายระเหยน้ำ 2533-2562 61
จังหวัดมุกดาหาร
3.3 สภาวะเศรษฐกิจและสังคมจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ และมุกดาหาร 67
3.4 พื้นที่แล้งซ้ำซากปี 2563 ในจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ และมุกดาหาร 70
3.5 พื้นที่ที่ประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัยและประกาศเขตให้ความช่วยเหลือ 70
ภัยแล้งในจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ และมุกดาหาร
3.6 ปริมาณน้ำท่าและการใช้น้ำของจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ และมุกดาหาร 78
3.7 ลักษณะและสภาพพื้นที่หรือลุ่มน้ำกับแปลงเกษตรกรที่มีการจัดการแบบ 92
โคก หนอง นาในพื้นที่กลุ่มเนื้อดินร่วนละเอียด ดินเหนียว และดินร่วนหยาบ
3.8 ลักษณะและสภาพพื้นที่หรือลุ่มน้ำกับแปลงเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่ 93
ไม่เหมาะสมเป็นเกษตรผสมผสานในพื้นที่กลุ่มเนื้อดินร่วนละเอียด ดินเหนียว
และดินร่วนหยาบ
3.9 เทคโนโลยีและภูมิปัญญาในพื้นที่มีการจัดการแบบโคก หนอง นาของเกษตรกร 139
เครือข่ายในจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ และมุกดาหาร
3.10 สมบัติดินทางกายภาพแปลงศึกษาของนายเชิดศักดิ์ สุขประเสริฐ 178
3.11 สมบัติดินทางเคมีแปลงศึกษาของนายเชิดศักดิ์ สุขประเสริฐ 179
3.12 สมบัติดินทางกายภาพแปลงศึกษาของนางสาวนราพร ผงทอง 181
3.13 สมบัติดินทางเคมีแปลงศึกษาของนางสาวนราพร ผงทอง 181
3.14 สมบัติดินทางกายภาพแปลงศึกษาของนางสาวศิริพร ประพรมมา 183
3.15 สมบัติดินทางเคมีแปลงศึกษาของนางสาวศิริพร ประพรมมา 183