Page 45 - รายงานฉบับสมบูรณ์ แนวปฏิบัติการที่ดี (good practices) บริเวณพื้นที่ดินเค็มในประเทศไทย
P. 45
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2. ความเค็มของน ้า เชิงบวก ระดับความเค็ม ระดับความเค็ม 2-20 ppt เหมาะ
ในพื้นที่ มากกว่า 30 ppt ส าหรับการปลูกป่าในน ้ากร่อย
3.ความหลากหลาย เชิงบวก ไม่มี มีการปลูกต้นไม้พื้นถิ่น ไม้ทน
ทางชีวภาพ เค็ม และเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า กุ้ง
ปลา เพิ่มขึ้น
2. ผลกระทบนอกพื้นที่ด ำเนินกำร(Off-site) จำกกำรใช้เทคโนโลยี
ด้ำน ผลกระทบ ก่อน หลัง
1. ความสามารถต้านทาน เชิงบวก เป็นพื้นที่น ้ากร่อย ดิน พื้นที่ป่าน ้ากร่อยมีการปรับ
การเปลี่ยนแปลง / จึงเค็มจัด น ้าทะเลขึ้น สภาพดีขึ้น มีต้นไม้สกุล
ความสามารถในการคัดกรอง ถึง และท่วมขังนาน โกงกางเพิ่มขึ้น เริ่มมีความ
(โดยดิน พืช พื้นที่ชุ่มน ้า) ท าให้พืชเกษตรได้รับ หลากหลายของพืชและสัตว์
ความเสียหาย มากขึ้น
2. การเกิดมลพิษต่อแม่น ้าล า เชิงบวก มีการปล่อยของเสีย ป่าน ้ากร่อยช่วยยึดหน้าดิน
คลอง ออกจากระบบ ลดตะกอน กรองขยะ และ
ดูดซับของเสียไว้ ท าให้
แหล่งน ้าสะอาดมากขึ้น
36