Page 11 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                            3









                                                              บทที่ 2
                                            การการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีส ารวจระยะไกล


                       2.1 หลักการเบื้องต้นเทคโนโลยีส ารวจระยะไกล
                               เทคโนโลยีส ารวจระยะไกล  (Remote Sensing: RS) เป็นการได้มาของข้อมูล (Data acquisition)

                       โดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัดที่อยู่ไกลออกไป และท าการสกัดสารสนเทศ (Information extraction) ต่างๆ จาก
                       ข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจวัดเพื่อท าการวิเคราะห์และประมวลผล ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้มีกระบวนการเริ่ม
                       จากการส่งพลังงานจากแหล่งพลังงานไปยังวัตถุ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลโดยการใช้อุปกรณืจัดเก็บพลังงาน
                       สะท้อนกลับ แล้วท าการสกัดสารสนเทศต่างๆ ออกมาจากข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดไปจนถึงการน าข้อมูลไป

                       ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ซึ่งการได้มาของข้อมูล ประกอบด้วย แหล่งพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ของ
                       พลังงานกับวัตถุต่างๆ บนผิวโลกระบบการตรวจวัดข้อมูล และการบันทึกข้อมูล (Jensen, 2000; อมร, 2558;
                       ทศนัศว์, 2558; Kulo, 2018; Aggarwa, n.d.) เทคโนโลยีส ารวจระยะไกล สามารถแยกตามระดับการจัดเก็บ
                       ข้อมูลได้เป็น 3 ประเภทหลัก (ภาพที่ 1) ได้แก่ การส ารวจระดับพื้นดิน (Ground based) ระดับอากาศ (Aerial based)

                       และระดับอวกาศ (Satellite based) (Liaghat and Balasundram, 2010; Kulo, 2018; Sishodia et al., 2020;
                       Navalgund, 2001; ทศนัศว์, 2558) ซึ่งการส ารวจในแต่ละระดับของการส ารวจมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน
                       เช่น ค่าใช้จ่าย ขนาดพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล ข้อจ ากัดของสภาพอากาศ และระยะเวลาที่ใช้ในการจัดเก็บ

                       ข้อมูล โดยในการเลือกใช้ข้อมูลส ารวจระยะไกลในแต่ละระดับมีเกณฑ์มากมายในการเลือกแต่เกณฑ์ที่ส าคัญ
                       ที่สุดคือความละเอียดที่ต้องการ ความครอบคลุมของพื้นที่ และค่าใช้จ่าย (Kulo, 2018; ทศนัศว์, 2558)





























                       ภาพที่ 1 การจัดเก็บข้อมูลโดยเทคโนโลยีส ารวจระยะไกลระดับพื้นดิน ระดับอากาศ และระดับอวกาศ

                        ที่มา : GISRSStudy (2023)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16