Page 73 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           61







                       จากเกษตรกรเริ่มทยอยเก็บเกี่ยวอ้อยตั งแต่เดือนพฤศจิกายนและในเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายนแปลงอ้อย
                       ส่วนใหญ่เป็นพื นที่ที่ตออ้อยที่รอเจริญเติบโตขึ นมาใหม่จึงท าให้ค่า NDVI และ GNDVI ต่ าเนื่องจากมีพืชปก
                       คลุมน้อย ขณะที่ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่พืชค่อยๆ เจริญเติบโต ซึ่งค่า NDVI และ
                       GNDVI ของพืชที่เป็นชนิดเดียวกันต้นที่มีขนาดใหญ่กว่า แข็งแรงกว่าจะมีค่าสูงกว่า (Simms and Ward,

                       2013) และพบว่าเดือนตุลาคมจะมีค่าดัชนีพืชพรรณสูงที่สุดเนื่องจากอ้อยเจริญเติบโตเต็มที่รอการเก็บเกี่ยว ซึ่ง
                       เห็นได้ว่าค่าดัชนีพืชพรรณจะเริ่มลดต่ าลงเรื่อยๆในเดือนพฤศจิกายนเนื่องจากเกษตรกรเริ่มเก็ยเกี่ยว และจะลด
                       ต่ าสุดในเดือนกุมภาพันธ์เนื่องจากอ้อยส่วนใหญ่ถูกเก็บแล้ว และเมื่อถึงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน แปลง
                       อ้อยส่วนใหญ่เป็นพื นที่ที่ตออ้อยที่รอเจริญเติบโตขึ นมาใหม่จึงท าให้ค่าดัชนีพืชพรรณทั ง 3 ชนิดมีค่าต่ า

                       เนื่องจากมีพืชปกคลุมน้อย ขณะที่ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่พืชค่อยๆ เจริญเติบโต ซึ่งค่า
                       ดัชนีพืชพรรณที ง 3 ชนิดหากเป็นพืชที่เป็นชนิดเดียวกันต้นที่มีขนาดใหญ่กว่า แข็งแรงกว่าจะมีค่าสูงกว่า และ
                       พบว่าเดือนตุลาคมจะมีค่าดัชนีพืชพรรณสูงที่สุดเนื่องจากอ้อยเจริญเติบโตเต็มที่รอการเก็บเกี่ยว ซึ่งเห็นได้ว่า
                       ค่าดัชนีพืชพรรณจะเริ่มลดต่ าลงเรื่อยๆในเดือนพฤศจิกายนเนื่องจากเกษตรกรเริ่มเก็บเกี่ยว และจะลดต่ าสุดใน

                       เดือนกุมภาพันธ์เนื่องจากอ้อยส่วนใหญ่ถูกเก็บแล้ว คล้ายการศึกษาของ Scarpare (n.d.) ซึ่งแสดงค่าดัชนี EVI
                       ของอ้อยที่เปลี่ยนแปลงในรอบปี
                                 ค่า NDII มีค่าต่ ากว่า ค่า NDVI และค่า GNDVI ตลอดทั งปี ทั งนี เกิดจากค่า NDII ค านวณสัดส่วน

                       ระหว่างช่วงคลื่นอินฟาเรดใกล้และช่วงคลื่นสั นอินฟราเรดโดยใช้สมการ (NIR - SWIR) / (NIR + SWIR) ขณะที่
                       NDVI ค านวณสัดส่วนระหว่างช่วงคลื่นอินฟาเรดใกล้และช่วงคลื่นแสงสีแดงโดยใช้สมการ (NIR – red) / (NIR +
                       red) และ GNDVI ค านวณสัดส่วนระหว่างช่วงคลื่นอินฟาเรดใกล้และช่วงคลื่นแสงสีเขียวโดยใช้สมการ (NIR –

                       green) / (NIR + green) โดยทั่วไปพืชจะสะท้อนช่วงคลื่นอินฟาเรดใกล้มากกว่าช่วงคลื่นแสงสีเขียวและช่วงคลื่น
                       แสงสีแดงตามล าดับเมื่อค่าต่างๆแล้วจึงเห็นว่าในบริเวณที่มีพืชปกคลุมสูงจะมีค่า NDVI สูงกว่าค่า GNDVI และ

                       ค่า NDII ต่าวล าดับ แต่อย่างไรก็ตาม GNDVI มีค่าสูงกว่า NDVI ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน แต่ GNDVI
                       มีค่าต่ ากว่า NDVI ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน เนื่องจากในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน

                       เป็นช่วงที่มีพืชปกคลุมอยู่น้อย ท าให้การดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในแต่ละช่วงคลื่นต่ าคล้ายลายเซ็นต์เชิงคลื่น
                       ของดินคือดินจะมีการสะท้อนแสงในช่วงคลื่นแสงสีเขียวและอินฟราเรดใกล้น้อยกว่าพืชท าให้เมื่อน ามาค านวณ

                       แล้วมีค่าต่ า ขณะที่ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายนเป็นช่วงที่มีพืชปกคลุมอยู่น้อย ท าให้การดูดซับ
                       คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในแต่ละช่วงคลื่นสูงโดยเฉพาะช่วงคลื่นสีแดง (Rouse et al., 1974; Gitelson et al., 1996;
                       Hunt and Rock, 1989) ซึ่งค่า NDVI และ GNDVI มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับขนาดทรงพุ่ม ขนาดพื นที่ใบ และ

                       มวลชีวภาพ คือค่า NDVI และ GNDVI จะเพิ่มขึ นเมื่อขนาดทรงพุ่ม ขนาดพื นที่ใบ และมวลชีวภาพเพิ่มขึ น
                       (Rouse et al., 1974; Gitelson et al., 1996; Simms and Ward, 2013) ซึ่งจากความแตกต่างนี อาจใช้เป็น

                       เกณฑ์ในการจ าแนกระยะเติบโตของอ้อยโดยสัณนิษฐานว่าเมื่อค่า NDVI สูงกว่าค่า GNDVI เป็นช่วงที่อ้อย
                       เจริญเติบโตคลุมพื นที่โดยเหลือพื นที่ว่างซึ่งเป็นดินน้อยลง
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78