Page 202 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 202

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          190







                       สามารถน าไปใช้ประมาณการผลผลิตพืชในแต่ละช่วงของปี เนื่องจากสามารถพิจารณาได้ว่าพืชในแต่ละพื นที่มีอยู่ใน
                       ระยะใดของการเจริญเติบโต เช่น ระยะงอก ระยะช่วงก าลังเจริญเติบโต หรือระยะพร้อมเก็บเกี่ยว โดยใช้ค่าความสูงต่ า
                       ของดัชนีพืชพรรณ
                               5.2.3 ควรทดสอบโมเดลกับพื นที่ข้างเคียงเพื่อทดสอบประสิทธิภาพเพื่อความถูกต้องแม่นย า

                       และสามารถขยายผลน าไปใช้กับพื นที่อื่นได้
                               5.2.4 เนื่องจากการเจริญเติบโตของพืชมีความสัมพันธ์กับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่
                       ละปี การใช้โมเดลควรมีการค านึงถึงลักษณะสภาพอากาศในแต่ละปี และใช้แยกโมเดล เช่น โมเดลส าหรับ
                       ปีที่น  าฝนน้อย หรือปีที่มีความแห้งแล้งเป็นต้น

                               5.2.5 ควรใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลายเซ็นเชิงคลื่นกับลักษณะข้อมูลการเจริญเติบโตที่ได้จาก
                       การส ารวจภาคสนาม กับปัจจัยอื่นๆ โดยเฉพาะการจ าแนกอายุของพืช ซึ่งโดยปกติจะสัมพันธ์กับการ
                       เจริญเติบโตทางด้านส าต้น เช่น ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม และขนาดล าต้น นอกจากนี อาจใช้สมการ
                       ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีพืชพรรณกับปริมาณคลอโรฟิลล์ในการศึกษาความสมบูรณ์ของต้นพืช เช่น การขาด

                       น  า ขาดธาตุอาหาร หรือการเกิดโรค เป็นต้น
                       5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
                               5.3.1 การจัดท าฐานข้อมูลการส ารวจระยะไกลในรอบปีของพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด ได้แก่ อ้อย

                       มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา และปาล์มน  ามัน จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ทั ง 12 เดือน สามารถใช้
                       เป็นข้อมูลอ้างอิงส าหรับการจ าแนกประเภทการใช้ที่ดิน การศึกษาการเจริญเติบโตของพืช ท าให้ภาครัฐ
                       และเอกชนสามารถใช้ในการวางแผนการใช้ที่ดิน การบริหารจัดการแปลงปลูกและผลผลิต รวมทั งการ
                       ก าหนดราคาที่เป็นธรรมส าหรับเกษตรกรจากการประมาณการผลผลิตล่วงหน้าจากการใช้ค่าลายเซ็นต์เชิง
                       คลื่นในการคาดการปริมาณพื นที่ปลูก พื นที่เก็บเกี่ยว ช่วงเก็บเกี่ยว และผลผลิตที่คาดว่าจะเก็บเกี่ยวได้

                       นอกจากนี ฐานข้อมูลดังกล่าวสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงส าหรับงานวิจัยโดยเฉพาะงานวิจัยด้านเกษตร
                       แบบแม่นย า เนื่องจากสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการติดตามการเจริญเติบโตของพืชในพื นที่กว้าง ใช้
                       เวลาน้อย ประหยัดค่าใช้จ่าย และประมวลผลได้อย่างรวดเร็วท าให้เหมาะกับการให้ค าแนะน าแก่เกษตรกร

                       และผู้ประกอบการแบบรายงานผลได้ทันที (realtime)
                               5.3.2 สามารถใช้เป็นข้อมูลพื นฐานในการผลิตนวัตกรรม วางแผนการใช้ที่ดิน หรือส่งเสริมการ
                       ใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับและสามารถแก้ปัญหาของพื นที่ได้ จากการจัดท า spectral signature
                       library ส าหรับพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด ได้แก่ อ้อย มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา และปาล์มน  ามัน ใน

                       รอบปี ซึ่งค่า spectral signature จะมีการเปลี่ยนแปลงในรอบปี โดยขึ นอยู่กับอายุ สุขภาพ และการ
                       จัดการ เช่น ปุ๋ย การระบาดของโรคแมลง ดังนั นผู้วิจัยและผู้ใช้ประโยชน์ด้านรีโมทเซ็นซิ่งสามารถน าไปใช้
                       ประโยชน์ได้ต่อไปงานวิจัยนี ได้ศึกษากระบวนการและจัดท าแบบจ าลองเพื่อใช้ในการจ าแนกพื นที่และ
                       คาดการณ์ผลผลิตพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด จากข้อมูลรีโมทเซ็นซิ่ง ซึ่งการใช้แบบจ าลองช่วยให้ผู้บริหาร

                       นักวิชาการ หรือนักวางแผน น าไปใช้ในการวางแผนการผลิตและการตลาดได้ต่อไป
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207