Page 201 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 201

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          189







                                                               บทที่ 5
                                                                สรุป


                            5.1 สรุปผลการศึกษา
                               5.1.1 การสร้างฐานข้อมูลการส ารวจระยะไกลในรอบปีของพืชเศรษฐกิจจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม
                       โดยใช้กูเกิลเอิร์ธเอนจินในการรวบรวมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและจัดเตรียมภาพโดยการโมเสก
                       (mosiac)  ท าให้ได้ภาพถ่ายรายเดือนซึ่งสามารถใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงชีพลักษณ์รายปีของพืชทั ง 5

                       ชนิดได้ และสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลส าหรับการท าปฏิทินการปลูกพืชในแต่ละท้องถิ่น เพื่อใช้ศึกษาเวลา
                       ปลูกและเวลาเก็บเกี่ยวพืชเศรษฐกิจ ท าให้ทราบปริมาณพื นที่ปลูกและประมาณการณ์เนื อที่เก็บเกี่ยวได้
                       ต่อไป ซึ่งค่าดัชนีที่น ามาศึกษาโดยการน ามาจัดท าเป็นกราฟ การเปลี่ยนแปลงรายเดือนสามารถใช้จ าแนก
                       ชนิดพืชได้ โดยอาศัยความแตกต่างของค่าดัชนีต่างๆ ระหว่างชนิดพืช เช่น ยางพาราและปาล์มน  ามันจะมี

                       ค่าดัชนีต่างๆ สูงกว่าอ้อย มันส าปะหลัง และสับปะรด ซึ่งเป็นพืชไร่ และนอกจากนี การจ าแนกระหว่าง
                       อ้อยและมันส าปะหลังสามารถใช้ค่าความต่างที่เปลี่ยนไปของดัชนี NDVI และ ดัชนี GNDVI
                               5.1.2 ดัชนีพืชพรรณมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางชีพ
                       ลักษณ์ เช่น ความสูง และความกว้างทรงพุ่ม ซึ่งลักษณะของแต่ละปีคล้ายกันท าให้สามารถน ามาพิจารณา

                       ความสมบูรณ์ของต้นพืชในแต่ละปี เช่น ปีที่สภาพอากาศไม่เหมาะสมเช่นฝนตกน้อย ต้นพืชเจริญเติบโตไม่
                       ดี ค่าดัชนีพืชพรรณ เช่น NDVI และ GNDVI จะต่ ากว่าปีที่สภาพอากาศเหมาะสมเป็นต้น
                               5.1.3 ดัชนีพืชพรรณมีศักยภาพในการใช้สร้างแบบจ าลองเพื่อประเมินการเจริญเติบโตที่ต่างกัน

                       และสามารถใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมาท าแบบจ าลองได้เพียงบางเดือนเท่านั น เช่น อ้อย ความ
                       สูง   มีความสัมพันธ์กับดัชนีพืชพรรณทั งใน  พ.ศ.2564 และ พ.ศ.2565 โดย พ.ศ.2564 มีความสัมพันธ์
                       ระดับปานกลาง ค่า GNDVI  มีศักยภาพในการประเมินความสูง มันส าปะหลัง ความสูงมีความสัมพันธ์กับ
                       ดัชนีพืชพรรณทั งใน  พ.ศ.2564 และ พ.ศ.2565 โดย พ.ศ. 2564 และ GNDVI มีศักยภาพส าหรับใช้
                       ประเมินความสูง สับปะรด ค่าดัชนีพืชพรรณ ดัชนี NDII มีศักยภาพในการใช้ประเมินความสูง ขณะที่

                       ยางพาราและปาล์มน  ามัน ดัชนีพืชพรรณทั ง 3 ชนิด มีศักยภาพส าหรับการท าแบบจ าลองส าหรับประเมิน
                       ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม และ ขนาดล าต้น
                       5.2 ข้อเสนอแนะ

                               5.2.1 ควรใช้ค่าดัชนีพืชพรรณทั ง 3 ชนิดเป็นปัจจัยหนึ่งในการจ าแนกชนิดพืชโดยเฉพาะการ
                       พัฒนาการจ าแนกชนิดพืชแบบอัตโนมัติเนื่องจากการสร้างฐานข้อมูลการส ารวจระยะไกลในรอบปีของพืช
                       เศรษฐกิจจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม พบว่ามีมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีพืชพรรณในแต่ละ
                       ชนิดแตกต่างกันในแต่ละเดือนตลอดช่วงปี ซึ่งจากความแตกต่างนี ท าให้ ค่าดัชนีพืชพรรณมีศักยภาพใน

                       การจ าแนกชนิดพืช
                               5.2.2 ควรมีการจัดเก็บข้อมูลค่าการสะท้อนแสง และศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจจากการ
                       เปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปีในพื นที่อื่น และพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นเพิ่มเติม โดยเฉพาะพืชที่มีลักษณะการ
                       เจริญเติบโตคล้ายกัน ซึ่งการแปลภาพด้วยสายตาแปลได้ยาก เพื่อใช้ในการบริการจัดการแปลงให้มีประสิทธิภาพ เช่น
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206