Page 98 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 98

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                           75

                                   - A235  กระเจี๊ยบแดง (Roselle) พื้นที่ปลูกกระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa  L.)
                 พืชลมลุก ลําตนมีสีแดงอมมวง ริ้วประดับและกลีบเลี้ยงอวบน้ํา สีแดง รับประทานได ใบมีหลายรูปแบบ มักแยก

                 เปนแฉก รูปหอกปลายแหลม มีขน หูใบรูปยาวแคบ รวงงาย ดอกมีสีเหลืองออนหรือชมพูออน โคนกลีบสีแดง
                 ผลรูปไขปอม มีจงอยสั้น มีขนหยาบสีเหลืองคลุม (ภาพที่ 99)












































                ภาพที่ 99   กระเจี๊ยบแดง


                                   - A236  เผือก (Taro) พื้นที่ปลูกเผือก (Colocasia esculenta (L.) Schott.)
               ไมลมลุกอายุหลายป มีลําตนใตดินเปนหัวรูปลูกขางกลม สีน้ําตาล มีขนาดใหญ เผือกเปนพืชหัวที่มีลําตนใต
               ดินสะสมอาหารเรียกวา หัวซึ่งเกิดจากการขยายของลําตนใตดิน พรอมกับความยาวของปลองลดลง เมื่อหัวมี
               ขนาดใหญจะมีรากชวยดึงหัวใหลึกลงในดิน ที่ปลายรากเหลานี้จะพองโตขึ้นเปนหัวยอยที่มีขนาดเล็ก หรือ

               เรียกวา ลูกเผือก ซึ่งจะทําหนาที่ชวยยึดลําตน ชวยดูดน้ําและแรธาตุ และสามารถใชเปนสวนที่ขยายพันธุได
               ตอไปใบเผือกมีรูปรางคลายหูชาง หรือคลายหัวใจ ขนาดใบกวางประมาณ 25-30  เซนติเมตร ยาว 35-45
               เซนติเมตร กานใบยาว  45-150  เซนติเมตร เผือกตนหนึ่งจะมีกานใบประมาณ 12-18  กาน สีของกานใบ
               ลักษณะใบและขอบใบจะแตกตางกันไปตามพันธุ เชน กานใบจะมีสีเขียวออน เขียวเขม มวง หรือมีจุดสีมวง

               ขอบใบเรียบหรือเปนคลื่น ปลายใบอาจแหลมหรือมน ตัวใบอาจจะหนาและเปนมัน หรือบางและดาน
               เปนตน ดอกจะมีลักษณะเปนดอกชอ มีดอนยอยเกาะติดกับกานดอกเดียวกัน ดอกยอยจะเริ่มบานจากดอกที่
               อยูลางสุดขึ้นไปทางปลายชอ ไมมีกานดอกยอย ดอกจะเกาะติดกับกานดอกเดี่ยว ซึ่งลักษณะยาว
               และมีจานหุมชอดอกไว ชอดอกมีขนาดยาว  10-15  เซนติเมตร จํานวนชอดอกประมาณ 5-15  ชอตอตน

               ชอดอกมีกานยาว 15-30  เซนติเมตร ดอกเผือกมีสีขาวครีม และสีเหลืองออน แตกตางกันไปตามพันธุ
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103